ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บุนนาค"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พ.น.บุญรอด (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มหมวดหมู่:พืช; ลบป้ายต้องการหมวดหมู่ออก ด้วยสจห.
พ.น.บุญรอด (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
วงศ์ GUTTIFERAE
วงศ์ GUTTIFERAE


== ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ==
เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ พบได้ในป่าดิบชื้น ตามริมห้วย ลำธาร ที่ระดับความสูงไม่เกิน 6-700 เมตร

เป็น[[ไม้ยืนต้น]]ขนาดใหญ่ พบได้ใน[[ป่าดิบชื้น]] ตามริมห้วย ลำธาร ที่ระดับความสูงไม่เกิน 6-700 เมตร
ต้นสูงประมาณ 25-30 เมตร เป็นไม้เนื้อแข็ง ลำต้นสีน้ำตาล
ต้นสูงประมาณ 25-30 เมตร เป็นไม้เนื้อแข็ง ลำต้นสีน้ำตาล
ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปขอบขนานแคบ กว้าง 2-3 ซ.ม. ยาว 7-12 ซ.ม.ใบอ่อนจะมีสีแดง
ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปขอบขนานแคบ กว้าง 2-3 ซ.ม. ยาว 7-12 ซ.ม.ใบอ่อนจะมีสีแดง
บรรทัด 12: บรรทัด 14:


เป็นไม้วงศ์เดียวกับ ต้นชะมวงหรือส้มป่อง มะดะหรือมังคุดป่า ต้นติ้วแดงและ ต้นติ้วขน จัดกลุ่มอยู่ในไม้พวก Iron wood คือเนื้อแข็ง
เป็นไม้วงศ์เดียวกับ ต้นชะมวงหรือส้มป่อง มะดะหรือมังคุดป่า ต้นติ้วแดงและ ต้นติ้วขน จัดกลุ่มอยู่ในไม้พวก Iron wood คือเนื้อแข็ง
ซึ่งมีอยู่ในหลายประเทศ ต้นบุนนาคสามารถพบได้ในอินเดียและศรีลังกา
ซึ่งมีอยู่ในหลายประเทศ ต้นบุนนาคสามารถพบได้ใน[[อินเดีย]]และ[[ศรีลังกา]]


== ประโยชน์ ==
* '''เนื้อไม้''' - เป็นไม้เนื้อแข็งใช้ทำหมอน[[รถไฟ]] การก่อสร้าง ด้านร่ม เป็นต้น
* '''ดอกแห้ง''' - เป็นยาฝาดสมาน ขับลมแก้ลมในไส้ บำรุงธาตุ บำรุง[[โลหิต]] บำรุง[[หัวใจ]]
* '''เมล็ด''' - มีน้ำมันที่กลั่นใช้ผสมเครื่องสำอาง และอื่น ๆ
* '''ดอกสด''' - มีน้ำมันหอมระเหย ปัจจุบันนำมาปลูกเป็นไม้ประดับกันอย่างแพร่หลาย


== เกร็ดความรู้ ==
ประโยชน์ เนื้อไม้ เป็นไม้เนื้อแข็งใช้ทำหมอนรถไฟ การก่อสร้าง ด้านร่ม เป็นต้น เป็นต้นไม้สมุนไพร มีสรรพคุณทางยา ดอกแห้ง เป็นยาฝาดสมาน ขับลมแก้ลมในไส้ บำรุงธาตุ บำรุงโลหิต บำรุงหัวใจ เมล็ด มีน้ำมันที่กลั่นใช้ผสมเครื่องสำอาง และอื่น ๆ ดอกสดมีน้ำมันหอมระเหย ปัจจุบันนำมาปลูกเป็นไม้ประดับกันอย่างแพร่หลาย
* ต้นบุนนาค เป็นต้นไม้ประจำ[[จังหวัดพิจิตร]]


ข้อมูลอ้างอิง Trees in the Garden by the Botanical Garden Organization office of Prim Minister. Printed by Sanga Sabhasri Research Foundation.
ข้อมูลอ้างอิง Trees in the Garden by the Botanical Garden Organization office of Prim Minister. Printed by Sanga Sabhasri Research Foundation.
บรรทัด 22: บรรทัด 32:


[[หมวดหมู่:พืช]]
[[หมวดหมู่:พืช]]
[[หมวดหมู่:ต้นไม้ประจำจังหวัด]]
{{ต้นไม้พระราชทาน}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:59, 22 ตุลาคม 2551

บุนนาค Mesua Ferrea L. ชื่ออื่น สารภีดอย วงศ์ GUTTIFERAE

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ พบได้ในป่าดิบชื้น ตามริมห้วย ลำธาร ที่ระดับความสูงไม่เกิน 6-700 เมตร ต้นสูงประมาณ 25-30 เมตร เป็นไม้เนื้อแข็ง ลำต้นสีน้ำตาล ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปขอบขนานแคบ กว้าง 2-3 ซ.ม. ยาว 7-12 ซ.ม.ใบอ่อนจะมีสีแดง ดอกสีขาวหอมเย็น ออก เป็นกระจุก 2-1 ดอก กลีบดอกรูปไข่กลับ ปลายกลีบย่นเล็กน้อย มีเกสรเพศผู้ยาวประมาณ 1.5 ซม.กลีบเลี้ยงกลมโค้งขนาด 1.5 ซ.ม.

เป็นไม้วงศ์เดียวกับ ต้นชะมวงหรือส้มป่อง มะดะหรือมังคุดป่า ต้นติ้วแดงและ ต้นติ้วขน จัดกลุ่มอยู่ในไม้พวก Iron wood คือเนื้อแข็ง ซึ่งมีอยู่ในหลายประเทศ ต้นบุนนาคสามารถพบได้ในอินเดียและศรีลังกา


ประโยชน์

  • เนื้อไม้ - เป็นไม้เนื้อแข็งใช้ทำหมอนรถไฟ การก่อสร้าง ด้านร่ม เป็นต้น
  • ดอกแห้ง - เป็นยาฝาดสมาน ขับลมแก้ลมในไส้ บำรุงธาตุ บำรุงโลหิต บำรุงหัวใจ
  • เมล็ด - มีน้ำมันที่กลั่นใช้ผสมเครื่องสำอาง และอื่น ๆ
  • ดอกสด - มีน้ำมันหอมระเหย ปัจจุบันนำมาปลูกเป็นไม้ประดับกันอย่างแพร่หลาย

เกร็ดความรู้

ข้อมูลอ้างอิง Trees in the Garden by the Botanical Garden Organization office of Prim Minister. Printed by Sanga Sabhasri Research Foundation.