ข้ามไปเนื้อหา

ต่อมไพเนียล

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ต่อมไพเนียล
ภาพแสดงต่อมใต้สมองและต่อมไพเนียลในมนุษย์
รายละเอียด
คัพภกรรมNeural Ectoderm, Roof of Diencephalon
หลอดเลือดแดงposterior cerebral artery
ตัวระบุ
ภาษาละตินglandula pinealis
MeSHD010870
นิวโรเนมส์297
นิวโรเล็กซ์ IDbirnlex_1184
TA98A11.2.00.001
TA23862
FMA62033
อภิธานศัพท์กายวิภาคศาสตร์

ต่อมไพเนียล (อังกฤษ: pineal gland) เป็นต่อมไร้ท่ออยู่เหนือสมอง อยู่บริเวณกึ่งกลางของสมองส่วนซีรีบรัมซ้ายและขวา มีขนาดเท่ากับเม็ดข้าวมีสีแดงปนน้ำตาล เรียกชื่อเต็มว่าเอน อะเซทิล ไฟฟ์เมทอคซิทริพทามีน (N acetyl -5- methoxytryptamine) เนื่องจากรูปร่างคล้ายลูกสน (pine cone) จึงเรียกว่าต่อมไพเนียล[1]

ในตอนกลางวันจะสร้างเซโรโตนินกระตุ้นให้เราลุกตื่นขึ้น พอตกกลางคืนก็สร้างเมลาโทนินให้เรารู้สึกง่วงนอน จึงเปรียบเสมือนนาฬิกาชีวภาพ[2]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "สำรวจโลกฮอร์โมน". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 มกราคม 2014.
  2. "ต่อมไพเนียล Pineal Gland". NovaBizz.