ไส้ตรง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไส้ตรง
ลำไส้ใหญ่มองจากข้างหน้า ไส้ตรง (สีแดง) อยู่ช่วงท้ายของล้ำไส้ใหญ่
กายวิภาคศาสตร์ของทวารหนักและไส้ตรง
รายละเอียด
คัพภกรรมทางเดินอาหารตอนปลาย (hindgut)
ส่วนหนึ่งของลำไส้ใหญ่
ระบบระบบทางเดินอาหาร
หลอดเลือดแดงSuperior rectal artery (first two-thirds of rectum), middle rectal artery (last third of rectum)
หลอดเลือดดำSuperior rectal veins, middle rectal veins
ประสาทInferior anal nerves, inferior mesenteric ganglia[1]
น้ำเหลืองInferior mesenteric lymph nodes, pararectal lymph nodes, internal iliac lymph nodes, Deep inguinal lymph nodes
ตัวระบุ
ภาษาละตินrectum intestinum
MeSHD012007
TA98A05.7.04.001
TA22998
FMA14544
อภิธานศัพท์กายวิภาคศาสตร์

ไส้ตรง (อังกฤษ: rectum) เป็นส่วนสุดท้ายของลำไส้ใหญ่ในมนุษย์และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมบางชนิด ไส้ตรงของมนุษย์โตเต็มวัยมีความยาวประมาณ 12 ซม.[2] และเริ่มจากจุดต่อลำไส้ส่วนปลายกับไส้ตรง (rectosigmoid junction) ในระดับกระดูกสันหลังส่วนกระเบนเหน็บที่ 3 (third sacral vertebra) หรือขอบนูนของกระดูกกระเบนเหน็บ (sacral promontory) แล้วแต่ความหมายที่ใช้[3] มีการโป่งเล็กน้อยตรงช่วงท้ายเรียกว่า rectal ampulla และสิ้นสุดที่ anorectal ring หรือเส้นเพ็กทิเนท (pectinate line) แล้วแต่จะตีความ[3] ในมนุษย์ ไส้ตรงตามด้วยช่องทวารก่อนช่องทางเดินอาหารจะจบลงที่ปากทวารหนัก (anal verge)

จุลกายวิภาคศาสตร์[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. สื่อด้านสรีรวิทยาของวิทยาลัยแพทยศาสตร์แห่งจอร์เจีย (MCG) 6/6ch2/s6ch2_30(อังกฤษ)
  2. "12. Colon and Rectum", AJCC Cancer Staging Atlas (PDF), American Joint Committee on Cancer, 2006, p. 109, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-06-12, สืบค้นเมื่อ 2018-01-28
  3. 3.0 3.1 al.], senior editors, Bruce G. Wolff ... [et (2007). The ASCRS textbook of colon and rectal surgery. New York: Springer. ISBN 0-387-24846-3. {{cite book}}: |first= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)