งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก 83rd Academy Awards)
งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83
วันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 2010
สถานที่ โกดักเธียเตอร์
ฮอลลีวู้ด
พิธีกร เจมส์ ฟรานโก
แอนน์ แฮททาเวย์
ผู้กำกับงาน Bruce Cohen
Don Mischer[1]
ภาพยนตร์ที่น่าสนใจ
ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม ประกาศก้องจอมราชา
ได้รางวัลมากที่สุด ประกาศก้องจอมราชา และ จิตพิฆาตโลก (4)
เข้าชิงมากที่สุด ประกาศก้องจอมราชา (12)
สถานีโทรทัศน์ที่แพร่ภาพออกอากาศ
ช่อง สหรัฐ ABC
ไทย ทรูอินไซด์
 < ครั้งที่ 82 รางวัลออสการ์ ครั้งที่ 84 > 

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83 เป็นงานที่จะมอบรางวัลสำหรับภาพยนตร์ที่เข้าฉายในปีค.ศ. 2009 จัดขึ้นในวันที่ 27 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2011 ในโกดักเธียเตอร์ ฮอลลีวูด ลอสแอนเจลิส, แคลิฟอร์เนีย จะออกอากาศทางโทรทัศน์ช่อง ABC และถ่ายทอดสดไปทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย (ถ่ายทอดสดทางช่อง ทรูอินไซด์) และในปีนี้ยังได้ เจมส์ ฟรานโก และ แอนน์ แฮททาเวย์ มาเป็นพิธีกรในงานด้วย ซึ่งถือเป็นครั้งแรกของทั้งสองคน

ภาพยนตร์เรื่อง The King's Speech (ประกาศก้องจอมราชา) เป็นภาพยนตร์ที่คว้ารางวัลไปมากที่สุดในปีนี้ ทั้งหมด 4 รางวัล และล้วนเป็นรางวัลสำคัญทั้งสิน ได้แก่ ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม, ผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม(ทอม ฮูเปอร์), นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม(คอลิน เฟิร์ธ) และ บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม เช่นเดียวกับภาพยนตร์เรื่อง Inception (จิตพิฆาตโลก) ที่ได้รับไป 4 รางวัลเช่นเดียวกัน ส่วนภาพยนตร์เรื่องอื่นๆ ที่ได้รับรางวัล ได้แก่ The Social Network (เดอะ โซเชี่ยล เน็ตเวิร์ค) ได้รับ 3 รางวัล, อลิซผจญแดนมหัศจรรย์, The Fighter (2 แกร่งหัวใจเกินร้อย) และ ทอย สตอรี่ 3 ได้รับรางวัลไปเรื่องละ 2 รางวัล และ Black Swan (แบล็ค สวอน), In a Better World, Inside Job และ The Wolfman ได้ไปอย่างละ 1 รางวัล ส่วนในประเภทภาพยนตร์สั้น ภาพยนตร์ที่ได้รับรางวัลได้แก่ God of Love, The Lost Thing และ Strangers No More


ผู้ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงและได้รับรางวัล[แก้]

รายชื่อผู้ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงและได้รับรางวัล เรียงชื่อตามลำดับอักษรภาษาอังกฤษ สำหรับภาพยนตร์ที่มีการกำหนดชื่อภาษาไทยจะมีการวงเล็บไว้ข้างท้ายชื่อ

ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม ผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม
นักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม
บทภาพยนตร์ดั้งเดิมยอดเยี่ยม บทภาพยนตร์ดัดแปลงยอดเยี่ยม
ภาพยนตร์แอนิเมชันยอดเยี่ยม ภาพยนตร์ภาษาต่างประเทศยอดเยี่ยม
ภาพยนตร์สารคดียอดเยี่ยม ภาพยนตร์สารคดีสั้นยอดเยี่ยม
  • Strangers No More – Karen Goodman and Kirk Simon
ภาพยนตร์เหตุการณ์สั้นยอดเยี่ยม ภาพยนตร์แอนิเมชันสั้นยอดเยี่ยม
  • God of Love – Luke Matheny
    • The Confession – Tanel Toom
    • The Crush – Michael Creagh
    • Na Wewe – Ivan Goldschmidt
    • Wish 143 – Ian Barnes
ดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม เพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
ลำดับเสียงยอดเยี่ยม บันทึกเสียงยอดเยี่ยม
  • Inception – Richard King
    • Toy Story 3 – Tom Myers and Michael Silvers
    • Tron: Legacy(ล่าข้ามโลกอนาคต)  – Gwendolyn Yates Whittle and Addison Teague
    • True Grit – Skip Lievsay and Craig Berkey
    • Unstoppable (แผนสกัดรถด่วนขบวนนรก)  – Mark P. Stoeckinger
กำกับศิลป์ยอดเยี่ยม กำกับภาพยอดเยี่ยม
แต่งหน้ายอดเยี่ยม ออกแบบเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม
ตัดต่อภาพยนตร์ยอดเยี่ยม เทคนิคสมจริงยอดเยี่ยม

รางวัลออสการ์เกียรติยศ[แก้]

รางวัลอนุสรณ์ เออร์วิง จี. ธาลเบิร์ก[แก้]

ภาพยนตร์ที่ได้รับการเสนอชื่อมากกว่าหนึ่งรางวัล[แก้]

ภาพยนตร์ที่ได้รับรางวัลมากกว่าหนึ่งรางวัล[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Bruce Cohen and Don Mischer to Produce 83rd Academy Awards Telecast". AMPAS. (AMPAS). June 23, 2010. สืบค้นเมื่อ June 23, 2010.