ข้ามไปเนื้อหา

เททิส (ดาวบริวาร)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เททิส

ภาพเททิสจากยาน วอยเอจเจอร์ 2 ในปี 1981 โดยมีแนวร่องขนาดใหญ่ Ithaca Chasma ทอดยาวลงมาในแนวทแยงมุมและออกจากปล่องภูเขาไฟ Telemachus ที่ปรากฏเด่นทางด้านขวาบน ที่ราบพื้นเรียบของซีกโลกอีกด้านหนึ่งซึ่งมีความหนาแน่นของปล่องภูเขาไฟลดลงจะมองเห็นได้ทางด้านขวาล่าง
การค้นพบ
ค้นพบโดย:จี. ดี. กัสซีนี
ค้นพบเมื่อ:21 มีนาคม ค.ศ. 1684
ชื่ออื่น ๆ:Saturn III
ลักษณะของวงโคจร
กึ่งแกนเอก:294 619 กม.
ความเยื้องศูนย์กลาง:0.000 1[1][2]
ความเอียง:1.12° (กับแนวเส้นศูนย์สูตรดาวเสาร์)
ดาวบริวารของ:ดาวเสาร์
ลักษณะทางกายภาพ
มิติ:1076.8 × 1057.4 × 1052.6 กม.[3]
มวล:
  • (6.174 49 ± 0.001 32)×1020 กก.[4]
  • (1.03×10−4 เท่าของโลก)
ความหนาแน่นเฉลี่ย:0.984 ± 0.003 กรัม/ลบ.ซม.[3]
ความโน้มถ่วง
ที่ศูนย์สูตร:
0.146 เมตร/วินาที2[a]
ความเร็วหลุดพ้น:0.394 กิโลเมตร/วินาที[b]
คาบการหมุน
รอบตัวเอง
:
สมวาร[5]
ความเร็วการหมุน
รอบตัวเอง:
1.887 802 วัน[2]
อัตราส่วนสะท้อน:
อุณหภูมิ:86 ± 1 K[9]

เททิส (/ˈtθɪs, ˈtɛθɪs/) หรือ Saturn III เป็นดาวบริวารขนาดกลางของดาวเสาร์ มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1,060 กิโลเมตร (660 ไมล์) ค้นพบโดย โจวันนี โดเมนีโก กัสซีนี ในปี ค.ศ. 1684 และตั้งชื่อมาจากยักษ์เททิส ในเทพปกรณัมกรีก

ดาวเททิส ถูกสำรวจโดยยานอวกาศหลายลำรวมถึง ไพโอเนียร์ 11 (ค.ศ. 1979), วอยเอจเจอร์ 1 (ค.ศ. 1980), วอยเอจเจอร์ 2 (ค.ศ. 1981) และยานกัสซีนี ในระหว่างปี ค.ศ. 2004 ถึงปี ค.ศ. 2017

หมายเหตุ

[แก้]
  1. ความโน้มถ่วงพื้นผิวได้มาจากมวล m, ค่าคงที่ความโน้มถ่วง G และรัศมี r : Gm/r2
  2. ความเร็วหลุดพ้นได้มาจากมวล m, ค่าคงที่ความโน้มถ่วง G และรัศมี r : √2Gm/r

อ้างอิง

[แก้]
  1. Jacobson 2010 SAT339.
  2. 2.0 2.1 "NASA Celestia". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-04-21.
  3. 3.0 3.1 Roatsch Jaumann et al. 2009, p. 765, Tables 24.1–2.
  4. Jacobson Antreasian et al. 2006.
  5. Jaumann Clark et al. 2009, p. 659.
  6. Verbiscer French et al. 2007.
  7. Jaumann Clark et al. 2009, p. 662, Table 20.4.
  8. Howett Spencer et al. 2010, p. 581, Table 7.
  9. Stone & Miner 1982.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]