โพรมีเทียส (ดาวบริวาร)
หน้าตา
Prometheus image from Cassini (December 26, 2009) | |
การค้นพบ | |
---|---|
ค้นพบโดย: | Collins, Voyager 1 |
ค้นพบเมื่อ: | ตุลาคม ค.ศ. 1980 |
ลักษณะของวงโคจร [1] | |
ความเยื้องศูนย์กลาง: | 0.0022 |
ความเอียง: | 0.008 ± 0.004° to Saturn's equator |
ดาวบริวารของ: | ดาวเสาร์ |
ลักษณะทางกายภาพ | |
มิติ: | 135.6×79.4×59.4 กิโลเมตร[2] |
ปริมาตร: | ~340,000 km³ [2] |
มวล: | 1.595 ± 0.015 ×1017 kg [2] |
ความหนาแน่นเฉลี่ย: | 0.48 ± 0.09 g/cm³ [2] |
ความเร็วหลุดพ้น: | ~0.019 km/s |
โพรมีเทียส (อังกฤษ: Prometheus) เป็นดาวบริวารของดาวเสาร์ ค้นพบในปี ค.ศ. 1980 (พ.ศ. 2523) ด้วยการถ่ายภาพจากยานวอยเอจเจอร์ 1 และถูกกำหนดให้เป็นชื่อชั่วคราว คือ S/1980 S 27[3]
ในช่วงปลายปี 1985 ได้ตั้งชื่ออย่างเป็นทางการมาจากเทพโพรมีเทียส ยักษ์ในเทพปกรณัมกรีก[4] และถูกกำหนดชื่อเล่นว่า Saturn XVI (16)[5]
อ้างอิง
[แก้]แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Prometheus (moon)
- "Cassini–Huygens: Multimedia-Videos / Soft Collision". NASA. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-10-29. สืบค้นเมื่อ 2013-05-06.
Prometheus slowly collides with the diffuse inner edge of Saturn's F ring ... pulls a streamer of material from the ring and leaves behind a dark channel.
- Prometheus Profile เก็บถาวร 2007-06-09 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน at NASA's Solar System Exploration site
- The Planetary Society: Prometheus เก็บถาวร 2006-05-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- 3-D anaglyph view of Prometheus