เดวิด จูเลียส

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เดวิด จูเลียส
เกิด (1955-11-04) พฤศจิกายน 4, 1955 (68 ปี)
ไบรตันบีช บรุกลิน นครนิวยอร์ก
สัญชาติอเมริกัน
ศิษย์เก่าMIT
มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์คลีย์
มีชื่อเสียงจากการระบุ Kex2 โปรฮอร์โมนคอนเวอร์เทส; การโคลนตัวรับเซโรโทนินและพิวริเนอร์จิก; การค้นพบตัวรับความร้อน, ความเย็น และสารก่อความระคายที่เป็นภัย
คู่สมรสฮอลลี อิงกราแฮม
รางวัลรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ (2021)
อาชีพทางวิทยาศาสตร์
สาขาสรีรวิทยา
ชีวเคมี
ประสาทวิทยาศาสตร์
สถาบันที่ทำงานมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย
มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ซานฟรานซิสโก
อาจารย์ที่ปรึกษาในระดับปริญญาเอกเจเรมี ธอร์เนอร์
แรนดี เชคแมน
อาจารย์ที่ปรึกษาอื่น ๆริเชิร์ด แอกเซล[1]
Alexander Rich

เดวิด เจย์ จูเลียส (อังกฤษ: David Jay Julius; เกิด 4 พฤศจิกายน 1955) เป็นนักสรีรวิทยาชาวอเมริกันและผู้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ เป็นที่รู้จักจากงานเกี่ยวกับกลไกระดับโมเลกุลของการรับความเจ็บปวดกับความร้อน รวมถึงการระบุตัวรับ TRPV1 และ TRPM8 ซึ่งตรวจจับแคปไซซิน, เมนทอล และอุนหภูมิ ปัจจุบันเป็นศาสตราจารย์ประจำมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์คลีย์

จูเลียสได้รับรางวัลชอว์ในปี 2010 ในสาขาวิทยาศาสตร์ชีวิตและแพทยศาสตร์ และในปี 2020 ได้รับรางวัลเบรกธรูสาขาวิทยาศาสตร์ชีวิต[2][3] ในปี 2021 เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์คู่กับอาร์แดม พาทาพูทิยัน[4]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Julius Lab at UCSF Mission Bay | David Julius Lab". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 23, 2013. สืบค้นเมื่อ November 30, 2013.
  2. "Julius Named to Receive the Shaw Prize". ucsf.edu. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 29, 2019. สืบค้นเมื่อ December 5, 2016.
  3. "David Julius, PhD 49th Faculty Research Lecture Award". senate.ucsf.edu. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 1, 2020. สืบค้นเมื่อ December 5, 2016.
  4. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 2021". NobelPrize.org. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 4, 2021. สืบค้นเมื่อ October 4, 2021.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]