สถานีเจริญนคร

พิกัด: 13°43′35″N 100°30′32″E / 13.7265°N 100.5090°E / 13.7265; 100.5090
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เจริญนคร
G2

Charoen Nakhon
ข้อมูลทั่วไป
ชื่ออื่นไอคอนสยาม
ที่ตั้งถนนเจริญนคร เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร
พิกัด13°43′35″N 100°30′32″E / 13.7265°N 100.5090°E / 13.7265; 100.5090
เจ้าของกรุงเทพมหานคร
ผู้ให้บริการกรุงเทพธนาคม
สาย
ชานชาลา2 ชานชาลาด้านข้าง
ราง2
การเชื่อมต่อ
โครงสร้าง
ประเภทโครงสร้างยกระดับ
ข้อมูลอื่น
รหัสสถานีG2
ประวัติ
เริ่มเปิดให้บริการ16 มกราคม พ.ศ. 2564; 3 ปีก่อน (2564-01-16)
การเชื่อมต่อ
สถานีก่อนหน้า รถไฟฟ้าบีทีเอส สถานีต่อไป
คลองสาน
สถานีปลายทาง
สายสีทอง กรุงธนบุรี
สถานีปลายทาง
ที่ตั้ง
แผนที่
Bombardier Innovia APM 300 ที่สถานีเจริญนคร

สถานีเจริญนคร (อังกฤษ: Charoen Nakhon Station, รหัส G2) เป็นสถานีรถไฟฟ้าแบบยกระดับ ในเส้นทางรถไฟฟ้าสายสีทอง โดยสถานีจะยกระดับเหนือถนนเจริญนคร เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร เป็นสถานีที่ตั้งอยู่ระหว่าง ไอคอนสยาม ทั้งอาคารหลัก และอาคารต่อขยาย

ที่ตั้ง[แก้]

ระหว่างศูนย์การค้าไอคอนสยาม ทั้งอาคารหลัก (อาคาร Main Building) และอาคารต่อขยาย (อาคารไอซีเอส) บนถนนเจริญนคร ในพื้นที่แขวงคลองต้นไทร เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร

แผนผังของสถานี[แก้]

U3
ชานชาลา
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
ชานชาลา 2 สายสีทอง มุ่งหน้า กรุงธนบุรี (ไม่ได้ใช้งานชั่วคราว)
ชานชาลา 1 สายสีทอง มุ่งหน้า คลองสาน หรือ กรุงธนบุรี (ชั่วคราว)
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย,ขวา (ชั่วคราว)
U2
ชั้นขายบัตรโดยสาร
ชั้นขายบัตรโดยสาร ทางออก 1-2, ศูนย์บริการผู้โดยสาร, ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร
ไอคอนสยาม และ ไอซีเอส
G
ระดับถนน
- ป้ายรถประจำทาง และรถสี่ล้อเล็กรับจ้าง, วิทยาลัยเทคโนโลยีมิตรผลบริหารธุรกิจ, โรงแรมมิลเลนเนียม ฮิลตัน,
แมกโนเลียส์ วอเตอร์ฟร้อนท์ เรสซิเดนเซส และ เดอะ เรสซิเดนเซส แอท แมนดาริน โอเรียนเต็ล แบงค็อก
ถนนเจริญรัถ, ซอยเจริญนคร 2, ซอยเจริญนคร 3, ซอยเจริญนคร 4, ซอยเจริญนคร 5
ท่าไอคอนสยาม

รูปแบบของสถานี[แก้]

เป็นแบบมีชานชาลาอยู่ 2 ข้าง (side platform station) กว้าง 22 เมตร ระดับชานชาลาสูง 16.60 เมตร ยาว 81 เมตร ถูกออกแบบให้มีขนาดใหญ่พิเศษ เพื่อรองรับผู้โดยสารเป็นจำนวนมาก ประกอบด้วยชั้นขายบัตรโดยสาร และชานชาลา ในส่วนหลังคาชานชาลามีการออกแบบให้ป้องกันฝนสาดและแดดส่อง โดยเชื่อมปิดหลังคาทั้งหมด โดยสถานีห่างจากสถานีกรุงธนบุรี 1.149 กิโลเมตร และห่างจากสถานีคลองสาน 532 เมตร สถาปัตยกรรมโดยรวมของสถานีออกแบบให้คล้ายคลึงกับอาคารหลักของศูนย์การค้าไอคอนสยาม เน้นการตกแต่งในโทนสีทองและสีขาวเป็นหลัก

ทางเข้า-ออก[แก้]

  • 1 ไอคอนสยาม (อาคารไอซีเอส), วิทยาลัยเทคโนโลยีมิตรผลบริหารธุรกิจ, ซอยเจริญนคร 2, ซอยเจริญนคร 4
  • 2 ไอคอนสยาม (สะพานเชื่อมผ่านลานเจริญนครฮอลล์)
  • 3 ไอคอนสยาม (อาคารหลัก), แมกโนเลียส์ วอเตอร์ฟร้อนท์ เรสซิเดนเซส และเดอะ เรสซิเดนเซส แอท แมนดาริน โอเรียนเต็ล แบงค็อก, โรงแรมมิลเลนเนียม ฮิลตัน, ซอยเจริญนคร 3, ซอยเจริญนคร 5

สิ่งอำนวยความสะดวก[แก้]

  • ลิฟต์สำหรับผู้พิการ จากทางเท้าถนนเจริญนครทั้งสองฝั่ง และจากชั้นจำหน่ายบัตรโดยสารไปยังชานชาลาทั้งสองชานชาลา
  • สะพานเชื่อม
    • ไอคอนสยาม ออกแบบให้สามารถเข้าอาคารได้ 3 ทิศทาง 4 ชั้น 5 จุด ได้แก่ ทางเข้าหลักชั้น M เชื่อมกับลานเจริญนครฮอลล์, ทางเข้าชั้น UG จำนวน 2 จุด, ทางเข้าชั้น 1 เชื่อมกับร้านซารา และทางเข้าชั้น 2 เชื่อมกับห้างสรรพสินค้าสยามทาคาชิมาย่า
    • ไอซีเอส เชื่อมกับทางเข้าหลักชั้น M

เวลาให้บริการ[แก้]

ปลายทาง ขบวนรถ ขบวนแรก ขบวนสุดท้าย
สายสีทอง
ชานชาลาที่ 1
G3 คลองสาน เต็มระยะ 06.03 00.03
ชานชาลาที่ 2
G1 กรุงธนบุรี เต็มระยะ 06.01 00.06
ขบวนสุดท้ายเชื่อมต่อสายสีเขียว - 23.42
หมายเหตุ
  • ขบวนสุดท้ายเชื่อมต่อสายสีเขียว หมายถึงขบวนรถไฟฟ้าสายสีทองที่สามารถเชื่อมต่อรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม เพื่อไปให้ทันรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท มุ่งหน้าสถานีเคหะฯ หรือสถานีคูคต ขบวนสุดท้าย ซึ่งจะออกจากสถานีกรุงธนบุรีในเวลา 23.52 น.
  • หากเดินทางด้วยรถไฟฟ้าสายสีทองขบวนสุดท้าย (00.06 น.) ไปเชื่อมต่อกับสายสุขุมวิท จะสามารถเดินทางไปได้เพียงแค่สถานีห้าแยกลาดพร้าว หรือสถานีสำโรง แต่สามารถเดินทางในสายสีลมได้ทุกสถานี

สถานที่สำคัญใกล้เคียง[แก้]

  • ไอคอนสยาม และไอซีเอส
    • ห้างสรรพสินค้าสยามทาคาชิมาย่า
    • แอปเปิลสโตร์ สาขาไอคอนสยาม
    • ศูนย์ประชุม ทรู ไอคอน ฮอลล์
    • โลตัส พรีเว่ สาขาไอซีเอส
    • ศูนย์สุขภาพ ศิริราช เอช โซลูชันส์
    • อาคารสำนักงานไอซีเอส
    • โรงแรมฮิลตัน การ์เดน อินน์ แบงค็อก ริเวอร์ไซด์
  • วัดสุวรรณ
  • ตลาดคลองสาน
  • วิทยาลัยเทคโนโลยีมิตรผลบริหารธุรกิจ
  • โรงแรมมิลเลนเนียม ฮิลตัน
  • โรงแรมไลฟ์ ริเวอร์ไซด์ กรุงเทพ
  • เดอะ แจม แฟคทอรี่

การเชื่อมต่อกับการขนส่งสาธารณะอื่น[แก้]

รถโดยสารประจำทาง[แก้]

  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ[แก้]

สายที่ เขตการเดินรถที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
3 8 (กปด.18) รถโดยสารประจำทาง อู่กำแพงเพชร คลองสาน รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก.
3 รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
84 6 (กปด.16) อ้อมใหญ่ BTS กรุงธนบุรี รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง รถบริการตลอดคืน
84 วัดไร่ขิง รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
88 5 (กปด.25) มจธ.บางขุนเทียน ลาดหญ้า รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง มีรถให้บริการน้อย
111 เจริญนคร ตลาดพลู รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง เส้นทางวิ่งเป็นวงกลม
4-18 (105) Handicapped/disabled access 5 (กปด.35) สมุทรสาคร BTS กรุงธนบุรี รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้ก๊าซธรรมชาติ)
4-18 (105) รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

รถเอกชน[แก้]

สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
6 (4-1) Handicapped/disabled access เรือข้ามฟาก พระประแดง บางลำพู รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.เศวกฉัตร
(เครือไทยสมายล์บัส)
84 (4-46) Handicapped/disabled access วัดไร่ขิง BTS กรุงธนบุรี บจก.ไทยสมายล์บัส
89 (4-19) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ตลิ่งชัน) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ บจก.สมาร์ทบัส
(เครือไทยสมายล์บัส)
120 (4-21) Handicapped/disabled access สมุทรสาคร แยกบ้านแขก บจก.อำไพรุ่งโรจน์
(เครือไทยสมายล์บัส)
149 (4-53) Handicapped/disabled access บรมราชชนนี รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (เอกมัย) บจก.ไทยสมายล์บัส

รถสี่ล้อเล็ก[แก้]