รถไฟใต้ดินไทน์แอนด์เวียร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รถไฟใต้ดินไทน์แอนด์เวียร์
Tyne Wear Metro logo.svg
Tyne and Wear Metro train 4029 between Tynemouth and Cullercoats.jpg
ข้อมูลทั่วไป
สถานะใช้งาน
เจ้าของPublic
ที่ตั้งไทน์แอนด์เวียร์
จำนวนสถานี60
การดำเนินงาน
รูปแบบรถไฟใต้ดิน/รถไฟฟ้ารางเบา
เส้นทางสายสีเขียว
(สานามบิน-South Hylton)
สายสีเหลือง
(St James-South Shields)
ผู้ดำเนินงานTyne and Wear Passenger Transport Executive
Arriva UK Trains
ศูนย์ซ่อมบำรุงSouth Gosforth
ผู้โดยสารต่อวัน103,835 คน[1] (2011/12)
ประวัติ
เปิดเมื่อ11 สิงหาคม ค.ศ. 1980
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทาง74.5 กิโลเมตร (46.3 ไมล์)[2]
ระบบจ่ายไฟ1500 V DC
ความเร็ว80 km/h (50 mph)
แผนที่เส้นทาง
Geographically accurate map of the Metro system

รถไฟใต้ดินไทน์แอนด์เวียร์ (อังกฤษ: Tyne and Wear Metro) หรือ เมโทร เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าในอังกฤษตะวันออกเฉียงเหนือ[3][4] ให้บริการในเขตไทน์แอนด์เวียร์ เปิดให้บริการในปี ค.ศ. 1980 มีผู้โดยสาร 40 ล้านคนต่อวัน ระยะทาง 74.5 กิโลเมตร (46.3 ไมล์)[2] เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าที่ใหญ่เป็นอันดับที่สามของอังกฤษ รองจาก รถไฟใต้ดินลอนดอน และ รถไฟใต้ดินกลาสโกว์ ดำเนินการโดย DB Regio Tyne & Wear Ltd[5]

เส้นทาง[แก้]

ปัจจุบันมี 2 เส้นทาง ได้แก่ สายสีเขียว วิ่งระหว่างท่าอากาศยานนิวคาสเซิล และ South Hylton กับสายสีเหลือง วิ่งระว่างสถานี St James และ South Shields[6]

แผนที่เส้นทางรถไฟฟ้าทางภูมิศาสตร์

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-07-29. สืบค้นเมื่อ 2013-10-16.
  2. 2.0 2.1 "Transport history - Nexus". 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-05-17. สืบค้นเมื่อ 2013-07-24.
  3. "The longer term effects of the Tyne and Wear Metro". trl.co.uk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-09. สืบค้นเมื่อ 14 March 2013.
  4. "Tyne & Wear Metro, United Kingdom". railway-technology.com. สืบค้นเมื่อ 14 March 2013.
  5. "Who is Nexus?". Nexus. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-08-17. สืบค้นเมื่อ 2010-11-27.
  6. "UrbanRail.Net - Europe - U.K. - NEWCASTLE Metro". UrbanRail.net. สืบค้นเมื่อ 2013-07-24.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]