รถไฟใต้ดินเบอร์ลิน
![]() | |
![]() | |
ข้อมูลทั่วไป | |
---|---|
เจ้าของ | Berliner Verkehrsbetriebe (BVG) |
ที่ตั้ง | เบอร์ลิน |
ประเภท | รถไฟใต้ดิน |
จำนวนสาย | 10[1] |
จำนวนสถานี | 170[1] |
ผู้โดยสารต่อวัน | 1,390,000 (เฉลี่ยปี 2012) |
ผู้โดยสารต่อปี | 507.3 ล้านคน (2012) |
เว็บไซต์ | BVG.de - Homepage |
การให้บริการ | |
เริ่มดำเนินงาน | ค.ศ. 1902 |
ผู้ดำเนินงาน | Berliner Verkehrsbetriebe (BVG) |
ความยาวขบวน | ~100 เมตร (330 ฟุต) |
ระยะห่าง | 4-5 นาที |
ข้อมูลทางเทคนิค | |
ระยะทาง | 151.7 km (94.3 mi)[1] |
รางกว้าง | 1,435 mm (4 ft 8 1⁄2 in) |
การจ่ายไฟฟ้า | 750 V DC รางที่สาม |
ความเร็วเฉลี่ย | 30.7 km/h (19.1 mph)[1] |
ความเร็วสูงสุด | 72 km/h (45 mph) |
รถไฟใต้ดินเบอร์ลิน หรือ อู-บาน แบร์ลีน (เยอรมัน: U-Bahn Berlin) เป็นระบบขนส่งมวลชนแห่งแรกในกรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี เปิดให้บริการในปี ค.ศ. 1902 มี 170 สถานี[1] 10 เส้นทาง ระยะทางทั้งหมด 151.7 กิโลเมตร (94.3 ไมล์)[1] โดยร้อยละ 80 ของระยะทางเป็นเส้นทางใต้ดิน[2]
โครงข่าย[แก้]

แผนที่โครงข่ายในปี ค.ศ. 2009
เส้นทาง[แก้]
ประกอบด้วย 10 เส้นทาง
เส้นทาง | ต้นทาง - ปลายทาง | เปิดให้บริการ | ระยะทาง | จำนวนสถานี |
---|---|---|---|---|
ยู 1 | อูลันท์ชตรัสเซอ – วาร์เชาเออร์ชตรัสเซอ | 1902–1926 | 8.814 km (5.477 mi) | 13 |
ยู 2 | พังโค – รูเลเบิน | 1902–2000 | 20.716 km (12.872 mi) | 29 |
ยู 3 | น็อลเลินด็อร์ฟพลัทซ์ – ครุมเมอลังเคอ | 1913–1929 | 11.940 km (7.419 mi) | 15 |
ยู 4 | น็อลเลินด็อร์ฟพลัทซ์ – อินน์สบรุคเคอร์พลัทซ์ | 1910 | 2.864 km (1.780 mi) | 5 |
ยู 5 | อาเล็คซันเดอร์พลัทซ์ – เฮอโน | 1930–1989 | 18.356 km (11.406 mi) | 20 |
ยู 55 | เฮาพท์บานโฮฟ – บรันเดินบัวร์เกอร์โทร์ | 2009 | 1.470 km (0.913 mi) | 3 |
ยู 6 | อัลท์-เทเกิล – อัลท์-มารีเอินด็อร์ฟ | 1923–1966 | 19.888 km (12.358 mi) | 29 |
ยู 7 | ราทเฮาส์ชปันเดา – รูโด | 1924–1984 | 31.760 km (19.735 mi) | 40 |
ยู 8 | วิทเทอเนา – แฮร์มันน์ชตรัสเซอ | 1927–1996 | 18.042 km (11.211 mi) | 24 |
ยู 9 | ราทเฮาส์ชเตกลิทซ์ – อ็อสโลเออร์ชตรัสเซอ | 1961–1976 | 12.523 km (7.781 mi) | 18 |
ดูเพิ่ม[แก้]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 "The Berlin underground - The largest underground system in Germany". BVG.de (ภาษาอังกฤษ). Berliner Verkehrsbetriebe (BVG). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-09-25. สืบค้นเมื่อ 2013-09-22.
- ↑ Schomacker, Marcus (2007-03-14). "Berlins U-Bahn-Strecken und Bahnhöfe" (ภาษาเยอรมัน). berliner-untergrundbahn.de. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-08-08. สืบค้นเมื่อ 2007-09-18.
บรรณานุกรม[แก้]
อังกฤษ[แก้]
- Brian Hardy: The Berlin U-Bahn, Capital Transport, 1996, ISBN 1-85414-184-8
- Ulf Buschmann: U-Bahnhöfe Berlin. Berlin Underground Stations. Berlin Story Verlag, Berlin 2012, ISBN 3-86368-027-5
เยอรมัน[แก้]
- Jan Gympel: U-Bahn Berlin - Reiseführer. GVE-Verlag, Berlin 2002, ISBN 3-89218-072-5
- AG Berliner U-Bahn: Zur Eröffnung der elektrischen Hoch-und Untergrundbahn in Berlin. GVE-Verlag, Berlin 2002, ISBN 3-89218-077-6
- Jürgen Meyer-Kronthaler und Klaus Kurpjuweit: Berliner U-Bahn – In Fahrt seit Hundert Jahren. be.bra Verlag, Berlin 2001, ISBN 3-930863-99-5
- Petra Domke und Markus Hoeft: Tunnel Gräben Viadukte – 100 Jahre Baugeschichte der Berliner U-Bahn. kulturbild Verlag, Berlin 1998, ISBN 3-933300-00-2
- Ulrich Lemke und Uwe Poppel: Berliner U-Bahn. alba Verlag, Düsseldorf, ISBN 3-87094-346-7
- Robert Schwandl: Berlin U-Bahn Album. Alle 192 Untergrund- und Hochbahnhöfe in Farbe. Robert Schwandl Verlag, Berlin Juli 2002, ISBN 3-936573-01-8
- Jürgen Meyer-Kronthaler: Berlins U-Bahnhöfe – Die ersten hundert Jahre. be.bra Verlag, Berlin 1996, ISBN 3-930863-16-2
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
![]() |
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: รถไฟใต้ดินเบอร์ลิน |