สมาพันธ์ฟุตบอลอเมริกาเหนือ อเมริกากลาง และแคริบเบียน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก คอนคาเคฟ)
สมาพันธ์ฟุตบอลอเมริกาเหนือ อเมริกากลาง และแคริบเบียน
ชื่อย่อCONCACAF
ก่อนหน้า
ก่อตั้ง18 กันยายน 1961; 62 ปีก่อน (1961-09-18)
ประเภทองค์กรกีฬา
สํานักงานใหญ่ไมแอมี รัฐฟลอริดา สหรัฐ
พิกัด25°46′23″N 80°08′17″W / 25.773°N 80.138°W / 25.773; -80.138พิกัดภูมิศาสตร์: 25°46′23″N 80°08′17″W / 25.773°N 80.138°W / 25.773; -80.138
ภูมิภาค
อเมริกาเหนือ (แคริบเบียน, อเมริกากลาง และอเมริกาเหนือ)
อเมริกาใต้ (The Guianas)
สมาชิก
41 ชาติสมาชิก
ภาษาทางการ
Victor Montagliani
รองประธาน
Rodolfo Villalobos
Sunil Gulati
แรนดอล์ฟ แฮร์ริส
Yon de Luisa
เลขาธิการ
Philippe Moggio
องค์กรปกครอง
ฟีฟ่า
หน่วยงานในกํากับ
  • NAFU (อเมริกาเหนือ)
  • UNCAF (อเมริกากลาง)
  • CFU (แคริบเบียน)
เว็บไซต์concacaf.com

สมาพันธ์ฟุตบอลอเมริกาเหนือ อเมริกากลาง และแคริบเบียน[1][2] (อังกฤษ: Confederation of North, Central American and Caribbean Association Football) หรือ คอนคาแคฟ (CONCACAF)[3][4][5] เป็นสมาพันธ์ฟุตบอลที่ดูแลในพื้นที่อเมริกาเหนือ อเมริกากลาง และแคริบเบียน รวมถึง 3 ชาติในอเมริกาใต้อย่างกายอานา ซูรินาม และเฟรนช์เกียนา

คอนคาแคฟก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 18 กันยายน ค.ศ. 1961 ในเม็กซิโกซิตี ประเทศเม็กซิโก จากการรวมตัวกันของสมาพันธ์ฟุตบอลอเมริกาเหนือ (NAFC) และสมาพันธ์ฟุตบอลอเมริกากลางและแคริบเบียน (CCCF) คอนคาแคฟเป็นหนึ่งใน 6 สมาพันธ์ตามภูมิภาคต่าง ๆ ภายใต้การดูแลของฟีฟ่า โดยมีหน้าที่ได้การจัดการการแข่งขันฟุตบอลระหว่างชาติต่าง ๆ และสโมสรต่าง ๆ

สมาชิก[แก้]

อดีตสมาชิก[แก้]

องค์กรย่อย[แก้]

การแข่งขันที่จัดโดยคอนคาแคฟ[แก้]

ทีมที่ผ่านเข้ารอบฟุตบอลโลก[แก้]

สัญลักษณ์
  • 1st – ชนะเลิศ
  • 2nd – รองชนะเลิศ
  • 3rd – อันดับที่ 3
  • 4th – อันดับที่ 4
  • QF – รอบก่อนรอบรองชนะเลิศ หรือก็คือรอบ 8 ทีม
  • R16 – รอบ 16 ทีม (ตั้งแต่ปี 1986: รอบคัดออก 16 ทีม)
  • GS – รอบแบ่งกลุ่ม (สำหรับปี 1950, 1974, 1978 และ 1982 ซึ่งมีรอบแบ่งกลุ่ม 2 รอบ สัญลักษณ์นี้จะหมายถึงรอบแบ่งกลุ่มรอบแรก)
  • 1S – รอบ 1 คัดออก (1934–1938 Single-elimination tournament)
  •    — ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  •     — ไม่ได้เข้าร่วม / ถอนตัว / โดนแบน
  •     — เจ้าภาพ

ทีมชาย[แก้]

ตารางต่อไปนี้แสดงถึงตัวแทนคอนคาแคฟที่เข้าแข่งขันฟุตบอลโลก เรียงตามจำนวนครั้งที่เข้าร่วม

Team อุรุกวัย
1930
อิตาลี
1934
ฝรั่งเศส
1938
บราซิล
1950
สวิตเซอร์แลนด์
1954
สวีเดน
1958
ชิลี
1962
อังกฤษ
1966
เม็กซิโก
1970
เยอรมนี
1974
อาร์เจนตินา
1978
สเปน
1982
เม็กซิโก
1986
อิตาลี
1990
สหรัฐ
1994
ฝรั่งเศส
1998
เกาหลีใต้
ญี่ปุ่น
2002
เยอรมนี
2006
แอฟริกาใต้
2010
บราซิล
2014
รัสเซีย
2018
ประเทศกาตาร์
2022
แคนาดา
เม็กซิโก
สหรัฐ
2026
Total inclusive
WC Qual.
ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก GS GS GS GS GS GS QF GS QF R16 R16 R16 R16 R16 R16 R16 16 19
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 3rd R16 GS GS R16 GS QF GS R16 R16 10 20
ธงชาติคอสตาริกา คอสตาริกา R16 GS GS QF GS 5 16
ธงชาติฮอนดูรัส ฮอนดูรัส GS GS GS 3 14
ธงชาติเอลซัลวาดอร์ เอลซัลวาดอร์ GS GS 2 13
ธงชาติคิวบา คิวบา QF 1 13
ธงชาติเฮติ เฮติ GS 1 14
ธงชาติแคนาดา แคนาดา GS 1 14
ธงชาติจาเมกา จาเมกา GS 1 12
ธงชาติตรินิแดดและโตเบโก ตรินิแดดและโตเบโก GS 1 14
ธงชาติปานามา ปานามา GS 1 11
Total 2 1 1 2 1 1 1 1 2 1 1 2 2 2 2 3 3 4 3 4 3 TBD TBD 42

ทีมหญิง[แก้]

ตารางต่อไปนี้แสดงถึงตัวแทนคอนคาแคฟที่เข้าแข่งขันฟุตบอลโลกหญิง เรียงตามจำนวนครั้งที่เข้าร่วม

Team จีน
1991
สวีเดน
1995
สหรัฐ
1999
สหรัฐ
2003
จีน
2007
เยอรมนี
2011
แคนาดา
2015
ฝรั่งเศส
2019
Total inclusive
WC Qual.
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 1st 3rd 1st 3rd 3rd 2nd 1st 1st 8 8
ธงชาติแคนาดา แคนาดา GS GS 4th GS GS QF R16 7 8
ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก GS GS GS 3 8
ธงชาติจาเมกา จาเมกา × × GS 1 8
ธงชาติคอสตาริกา คอสตาริกา GS 1 8
Total 1 2 3 2 2 3 4 3 14

อันดับ - ทีมชาติ[แก้]

Mexico national football teamUnited States men's national football teamCosta Rica national football teamUnited States men's national football teamMexico national football teamUnited States men's national football teamMexico national football teamUnited States men's national football teamMexico national football teamUnited States men's national football teamMexico national football teamUnited States men's national football teamMexico national football teamUnited States men's national football teamMexico national football teamUnited States men's national football teamMexico national football teamUnited States men's national football teamMexico national football team
  • Last updates:
    • Men's national teams: 3 September 2015
    • Women's national teams: 10 July 2015
Top men's national teams
Rankings are calculated by FIFA.
____ Top women's national teams
Rankings are calculated by FIFA.
CCF FIFA Nation Points CCF FIFA Nation Points
1 22 ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก 881 1 1 ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 2189
2 32 ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 823 2 11 ธงชาติแคนาดา แคนาดา 1924
3 39 ธงชาติคอสตาริกา คอสตาริกา 731 3 26 ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก 1736
4 52 ธงชาติจาเมกา จาเมกา 602 4 34 ธงชาติคอสตาริกา คอสตาริกา 1627
5 54 ธงชาติตรินิแดดและโตเบโก ตรินิแดดและโตเบโก 594 5 48 ธงชาติตรินิแดดและโตเบโก ตรินิแดดและโตเบโก 1489
6 59 ธงชาติปานามา ปานามา 551 6 63 ธงชาติเฮติ เฮติ 1397
7 81 ธงชาติฮอนดูรัส ฮอนดูรัส 404 7 69 ธงชาติปานามา ปานามา 1363
8 87 ธงชาติเฮติ เฮติ 385 8 74 ธงชาติจาเมกา จาเมกา 1352
9 98 ธงชาติประเทศกัวเตมาลา กัวเตมาลา 333 9 84 ธงชาติประเทศกัวเตมาลา กัวเตมาลา 1300
10 102 ธงชาติแคนาดา แคนาดา 319 10 97 ธงชาติสาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน 1207
11 105 ธงชาติแอนทีกาและบาร์บิวดา แอนทีกาและบาร์บิวดา 304 11 98 ธงชาติคิวบา คิวบา 1206
12 107 ธงชาติเอลซัลวาดอร์ เอลซัลวาดอร์ 300 12 101 ธงชาติเอลซัลวาดอร์ เอลซัลวาดอร์ 1184
13 113 ธงชาติคิวบา คิวบา 280 13 107 ธงชาติฮอนดูรัส ฮอนดูรัส 1152
14 116 ธงชาติเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ 268 ธงชาติซูรินาม ซูรินาม
15 119 ธงชาติเซนต์คิตส์และเนวิส เซนต์คิตส์และเนวิส 256 15 114 ธงชาตินิการากัว นิการากัว 1111
16 123 ธงชาติสาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน 248 16 115 ธงชาติปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก 1108
17 128 ธงชาติเบลีซ เบลีซ 227 17 121 ธงชาติเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ 1000
18 131 ธงชาติเซนต์ลูเชีย เซนต์ลูเชีย 222 18 122 ธงชาติเซนต์ลูเชีย เซนต์ลูเชีย 991
19 132 ธงชาติเบอร์มิวดา เบอร์มิวดา 220 19 125 ธงชาติเซนต์คิตส์และเนวิส เซนต์คิตส์และเนวิส 956
20 137 ธงชาติอารูบา อารูบา 201 20 127 ธงชาติเบอร์มิวดา เบอร์มิวดา 943
21 139 ธงชาตินิการากัว นิการากัว 198 21 131 ธงชาติดอมินีกา ดอมินีกา 906
22 144 ธงชาติบาร์เบโดส บาร์เบโดส 186 22 134 ธงชาติหมู่เกาะเคย์แมน หมู่เกาะเคย์แมน 849
23 148 ธงชาติกูราเซา กูราเซา 178 23 136 ธงชาติเบลีซ เบลีซ 825
24 152 ธงชาติปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก 166 24 139 ธงชาติแอนทีกาและบาร์บิวดา แอนทีกาและบาร์บิวดา 767
25 154 ธงชาติกายอานา กายอานา 165 25 140 ธงชาติอารูบา อารูบา 758
26 158 ธงชาติกรีเนดา กรีเนดา 155 26 142** ธงชาติกายอานา กายอานา 1256
27 166 ธงชาติซูรินาม ซูรินาม 120 ธงชาติกูราเซา กูราเซา 831
28 172 ธงชาติดอมินีกา ดอมินีกา 98 28 142* ธงชาติกรีเนดา กรีเนดา 1029
29 176 ธงชาติหมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ 88 ธงชาติบาร์เบโดส บาร์เบโดส 979
30 178 ธงชาติมอนต์เซอร์รัต มอนต์เซอร์รัต 74 ธงชาติหมู่เกาะบริติชเวอร์จิน หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน 867
31 187 ธงชาติหมู่เกาะเคย์แมน หมู่เกาะเคย์แมน 49 ธงชาติหมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ 852
32 194 ธงชาติหมู่เกาะเติกส์และเคคอส หมู่เกาะเติกส์และเคคอส 33 ธงชาติหมู่เกาะเติกส์และเคคอส หมู่เกาะเติกส์และเคคอส 704
33 195 ธงชาติหมู่เกาะบริติชเวอร์จิน หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน 29
34 208 ธงชาติประเทศบาฮามาส บาฮามาส 0
ธงชาติแองกวิลลา แองกวิลลา

อ้างอิง[แก้]

  1. The organization shall be called "The Confederation of North, Central America and Caribbean Association Football" or "Concacaf" and shall be composed of National Associations belonging to Northern America, Central America and the Caribbean. STATUTES OF THE CONFEDERATION OF NORTH, CENTRAL AMERICA AND CARIBBEAN ASSOCIATION FOOTBALL. Edition 2015. Article 1, Section 1 เก็บถาวร 5 กันยายน 2015 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Retrieved 18 January 2016.
  2. สเปน: Confederación de Fútbol de Norte, Centroamérica y el Caribe, ออกเสียง: [komfeðeɾaˈsjon de ˈfuðβol de ˈnoɾte ˈsentɾoaˈmeɾika j el kaˈɾiβe]; ฝรั่งเศส: Confédération de football d'Amérique du Nord, d'Amérique centrale et des Caraïbes, ออกเสียง: [kɔ̃fedeʁasjɔ̃ də futbɔl dameʁik dy nɔʁ dameʁik sɑ̃tʁal e dɛ kaʁaib]. Dutch uses the English name.
  3. Straus, Brian (March 7, 2018). "New-Look Concacaf Unveils Format, Rules for Nations League Competition". SI.com. สืบค้นเมื่อ April 7, 2018.
  4. Concacaf Main | CONCACAF Home | About Us | National Associations เก็บถาวร 4 ตุลาคม 2012 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Concacaf.com. Retrieved on 14 October 2011.
  5. "Ramón Coll, electo Presidente de la Confederación de Futbol de América del Norte, América Central y el Caribe". La Nación (Google News Archive). 23 September 1961.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]