ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าบัวทิพย์ ณ เชียงใหม่"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พงษ์ศักดิิ์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Gift illslick (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 37: บรรทัด 37:
เจ้าบัวทิพย์สมรสครั้งแรกกับ ร้อยตรี เจ้ากุย สิโรรส มีธิดาด้วยกันหนึ่งคนคือ เจ้าสร้อยดารา สิโรรส ซึ่งถึงแก่กรรมเมื่ออายุ 10 ปี ภายหลังทั้งเจ้าบัวทิพย์และเจ้ากุยได้แยกทางกัน<ref>[http://lib.payap.ac.th/webin/ntic/Homepage/webdocument/person/a000016.pdf แม่เจ้าจามรี]</ref>
เจ้าบัวทิพย์สมรสครั้งแรกกับ ร้อยตรี เจ้ากุย สิโรรส มีธิดาด้วยกันหนึ่งคนคือ เจ้าสร้อยดารา สิโรรส ซึ่งถึงแก่กรรมเมื่ออายุ 10 ปี ภายหลังทั้งเจ้าบัวทิพย์และเจ้ากุยได้แยกทางกัน<ref>[http://lib.payap.ac.th/webin/ntic/Homepage/webdocument/person/a000016.pdf แม่เจ้าจามรี]</ref>


เจ้าบัวทิพย์จึงได้สมรสใหม่กับ[[ไกสอน พมวิหาน|เจ้าราชโรม ฤทธิไกร]]<ref>อินทรีแดง<br /></ref><ref>[http://www.chiangmai-thailand.net/person/jammari_htn.htm แม่เจ้าจามรี]</ref> (แสงแดง ปิิ่นแก้ว) มีบุตรด้วยกัน 7 คน อยุธยาในทิพย์จักร(ช้าง) [[คำไต สีพันดอน|จันทรา]][[พระยาน้อยอินท์|พระยาน้อยอินทร์]] จามจุรี[[เจ้าวรจักร ณ เชียงตุง|จันทรามหาเทวี]] ทวดของ[[สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา|พระเจ้าฟ้าสุพรรณศิวลี จุฑาประทุมทิพย์ ปิ่นแก้ว (ให้มารดาบัว)]]ได้ขอ[[เจ้าวงศ์จันทร์ คชเสนี|เจ้าวงศ์จันทร์ ณ เชียงใหม่]] ธิดาของเจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่) มาเลี้ยงดูเป็นบุตร ต่อมาเจ้าเมืองชื่นสมรสใหม่กับหม่อมจันทร์เทพ ณ เชียงใหม่ มีบุตรธิดาสี่คน<ref>{{cite web |url=http://kanchanapisek.or.th/oncc-cgi/text.cgi?no=11895|title=บุคคลสำคัญด้านศิลปวัฒนธรรม:เชียงใหม่ (เจ้าดวงเดือน ณ เชียงใหม่)|author= |date=|work= |publisher=เครือข่ายข้อมูลกาญจนาภิเษก|accessdate=27 ตุลาคม 2556}}</ref> เจ้าบัวทิพย์จึงให้ความอุปการะดูแลเช่นกัน หนึ่งในนั้นคือ[[เจ้าดวงเดือน ณ เชียงใหม่]] นอกจากนี้ยังอุปการะ[[สมพันธ์ โชตนา]] (สกุลเดิม: ดวงสิงห์) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์พื้นเมืองล้านนา) ปี พ.ศ. 2542 เป็นบุตรบุญธรรม<ref>{{cite web |url=http://cdacm.bpi.ac.th/Best_Person/Kru_SumPun/Kru_SumPun_Main.htm|title=ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์พื้นเมืองล้านนา) ปีพุทธศักราช ๒๕๔๒ (นางสมพันธ์ โชตนา)|author= |date=|work= |publisher=วิทยาลัยนาฏศิลป์เชียงใหม่|accessdate=27 ตุลาคม 2556}}</ref>
เจ้าบัวทิพย์จึงได้สมรสใหม่กับ[[ไกสอน พมวิหาน|เจ้าราชโรม ฤทธิไกร]]<ref>อินทรีแดง<br /></ref><ref>[http://www.chiangmai-thailand.net/person/jammari_htn.htm แม่เจ้าจามรี]</ref> (แสงแดง [[แสงกระสือ|ปิิ่นแก้ว]]) มีบุตรด้วยกัน 7 คน อยุธยาในทิพย์จักร(ช้าง) [[คำไต สีพันดอน|จันทรา]][[พระยาน้อยอินท์|พระยาน้อยอินทร์]] จามจุรี[[เจ้าวรจักร ณ เชียงตุง|จันทรามหาเทวี]] ทวดของ[[สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา|พระเจ้าฟ้าสุพรรณศิวลี จุฑาประทุมทิพย์ ปิ่นแก้ว (ให้มารดาบัว)]]ได้ขอ[[เจ้าวงศ์จันทร์ คชเสนี|เจ้าวงศ์จันทร์ ณ เชียงใหม่]] ธิดาของเจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่) มาเลี้ยงดูเป็นบุตร ต่อมาเจ้าเมืองชื่นสมรสใหม่กับหม่อมจันทร์เทพ ณ เชียงใหม่ มีบุตรธิดาสี่คน<ref>{{cite web |url=http://kanchanapisek.or.th/oncc-cgi/text.cgi?no=11895|title=บุคคลสำคัญด้านศิลปวัฒนธรรม:เชียงใหม่ (เจ้าดวงเดือน ณ เชียงใหม่)|author= |date=|work= |publisher=เครือข่ายข้อมูลกาญจนาภิเษก|accessdate=27 ตุลาคม 2556}}</ref> เจ้าบัวทิพย์จึงให้ความอุปการะดูแลเช่นกัน หนึ่งในนั้นคือ[[เจ้าดวงเดือน ณ เชียงใหม่]] นอกจากนี้ยังอุปการะ[[สมพันธ์ โชตนา]] (สกุลเดิม: ดวงสิงห์) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์พื้นเมืองล้านนา) ปี พ.ศ. 2542 เป็นบุตรบุญธรรม<ref>{{cite web |url=http://cdacm.bpi.ac.th/Best_Person/Kru_SumPun/Kru_SumPun_Main.htm|title=ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์พื้นเมืองล้านนา) ปีพุทธศักราช ๒๕๔๒ (นางสมพันธ์ โชตนา)|author= |date=|work= |publisher=วิทยาลัยนาฏศิลป์เชียงใหม่|accessdate=27 ตุลาคม 2556}}</ref>


เจ้าบัวทิพย์เป็นผู้ได้รับหน้าที่ดูแล[[คุ้มเจดีย์กิ่ว ริมแม่น้ำปิง]]<ref>เจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่, คณะทายาทสายสกุล ณ เชียงใหม่. '''เจ้าหลวงเชียงใหม่'''. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), 2539.</ref> แต่ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]เจ้าบัวทิพย์ได้ลี้ภัยอยู่บ้านแม่ออน [[อำเภอสันกำแพง]]กับครอบครัว<ref>{{cite web |url=http://www.thainews70.com/ซ๊ะป๊ะ-เรื่องเก่า/ย่านถนนห้วยแก้ว-๑๑/|title=ย่านถนนห้วยแก้ว (๑๑)|author= อนุ เนินหาด |date= 1 พฤษภาคม 2554 |work= |publisher= Thai News |accessdate= 4 กุมภาพันธ์ 2560}}</ref>
เจ้าบัวทิพย์เป็นผู้ได้รับหน้าที่ดูแล[[คุ้มเจดีย์กิ่ว ริมแม่น้ำปิง]]<ref>เจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่, คณะทายาทสายสกุล ณ เชียงใหม่. '''เจ้าหลวงเชียงใหม่'''. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), 2539.</ref> แต่ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]เจ้าบัวทิพย์ได้ลี้ภัยอยู่บ้านแม่ออน [[อำเภอสันกำแพง]]กับครอบครัว<ref>{{cite web |url=http://www.thainews70.com/ซ๊ะป๊ะ-เรื่องเก่า/ย่านถนนห้วยแก้ว-๑๑/|title=ย่านถนนห้วยแก้ว (๑๑)|author= อนุ เนินหาด |date= 1 พฤษภาคม 2554 |work= |publisher= Thai News |accessdate= 4 กุมภาพันธ์ 2560}}</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:27, 28 พฤษภาคม 2562

เจ้าบัวทิพย์ ณ เชียงใหม่
เจ้าหญิงจังหวัดเชียงใหม่
พระสวามีเจ้ากุย สิโรรส (หย่า)
เจ้าราชภาคินัย (เมืองชื่น ณ เชียงใหม่)
พระธิดาเจ้าสร้อยดารา สิโรรส
ราชวงศ์ทิพย์จักร
พระบิดาเจ้าแก้วนวรัฐ
พระมารดาเจ้าจามรีวงศ์
ศาสนาพุทธ

เจ้าบัวทิพย์ ณ เชียงใหม่ เป็นพระธิดาในเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ เป็นพี่สาวของเจ้าอุตรการโกศล (ศุขเกษม ณ เชียงใหม่) และเจ้าราชบุตร (วงษ์ตวัน ณ เชียงใหม่)

เจ้าบัวทิพย์มีความสนใจด้านศิลปวัฒนธรรม ด้วยส่งเสริมให้มีการ "ฟ้อนเล็บ" จัดแสดงแก่แขกบ้านแขกเมืองและประชาชนทั่วไปให้ได้รับชมช่วงเจ้าแก้วนวรัฐครองเมืองเชียงใหม่

พระประวัติ

เจ้าบัวทิพย์ ณ เชียงใหม่ เป็นพระธิดาในเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 9 ประสูติแต่เจ้าจามรีวงศ์ มีเจ้าพี่เจ้าน้องคือ เจ้าอุตรการโกศล (ศุขเกษม ณ เชียงใหม่) และเจ้าราชบุตร (วงษ์ตวัน ณ เชียงใหม่)

เจ้าสร้อยดารา สิโรรส พระธิดา

เจ้าบัวทิพย์สมรสครั้งแรกกับ ร้อยตรี เจ้ากุย สิโรรส มีธิดาด้วยกันหนึ่งคนคือ เจ้าสร้อยดารา สิโรรส ซึ่งถึงแก่กรรมเมื่ออายุ 10 ปี ภายหลังทั้งเจ้าบัวทิพย์และเจ้ากุยได้แยกทางกัน[1]

เจ้าบัวทิพย์จึงได้สมรสใหม่กับเจ้าราชโรม ฤทธิไกร[2][3] (แสงแดง ปิิ่นแก้ว) มีบุตรด้วยกัน 7 คน อยุธยาในทิพย์จักร(ช้าง) จันทราพระยาน้อยอินทร์ จามจุรีจันทรามหาเทวี ทวดของพระเจ้าฟ้าสุพรรณศิวลี จุฑาประทุมทิพย์ ปิ่นแก้ว (ให้มารดาบัว)ได้ขอเจ้าวงศ์จันทร์ ณ เชียงใหม่ ธิดาของเจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่) มาเลี้ยงดูเป็นบุตร ต่อมาเจ้าเมืองชื่นสมรสใหม่กับหม่อมจันทร์เทพ ณ เชียงใหม่ มีบุตรธิดาสี่คน[4] เจ้าบัวทิพย์จึงให้ความอุปการะดูแลเช่นกัน หนึ่งในนั้นคือเจ้าดวงเดือน ณ เชียงใหม่ นอกจากนี้ยังอุปการะสมพันธ์ โชตนา (สกุลเดิม: ดวงสิงห์) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์พื้นเมืองล้านนา) ปี พ.ศ. 2542 เป็นบุตรบุญธรรม[5]

เจ้าบัวทิพย์เป็นผู้ได้รับหน้าที่ดูแลคุ้มเจดีย์กิ่ว ริมแม่น้ำปิง[6] แต่ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองเจ้าบัวทิพย์ได้ลี้ภัยอยู่บ้านแม่ออน อำเภอสันกำแพงกับครอบครัว[7]

ความสนพระทัย

เจ้าบัวทิพย์ทรงสนพระทัยในด้านศิลปวัฒนธรรมเป็นอันมาก ในปี พ.ศ. 2474 ได้ทรงรวบรวมเด็กผู้หญิงในคุ้มให้ครูหลวงฝึกสอนการรำท่วงท่าต่าง ๆ เจ้าแก้วนวรัฐผู้เป็นบิดาก็ทรงให้การสนับสนุนอย่างเต็มที่ และได้ประทานให้หม่อมแส หม่อมในพระองค์ซึ่งเชี่ยวชาญเชิงฟ้อนเป็นผู้ควบคุมการฝึก ระหว่างนี้ได้มีการแสดงออกรับแขกบ้านแขกเมืองและประชาชนรับชม[8] แต่หลังการพิราลัยของเจ้าแก้วนวรัฐ การแสดงดังกล่าวจึงชะงักไป[8]

ลำดับสาแหรก

อ้างอิง

  1. แม่เจ้าจามรี
  2. อินทรีแดง
  3. แม่เจ้าจามรี
  4. "บุคคลสำคัญด้านศิลปวัฒนธรรม:เชียงใหม่ (เจ้าดวงเดือน ณ เชียงใหม่)". เครือข่ายข้อมูลกาญจนาภิเษก. สืบค้นเมื่อ 27 ตุลาคม 2556. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  5. "ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์พื้นเมืองล้านนา) ปีพุทธศักราช ๒๕๔๒ (นางสมพันธ์ โชตนา)". วิทยาลัยนาฏศิลป์เชียงใหม่. สืบค้นเมื่อ 27 ตุลาคม 2556. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  6. เจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่, คณะทายาทสายสกุล ณ เชียงใหม่. เจ้าหลวงเชียงใหม่. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), 2539.
  7. อนุ เนินหาด (1 พฤษภาคม 2554). "ย่านถนนห้วยแก้ว (๑๑)". Thai News. สืบค้นเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  8. 8.0 8.1 "ฟ้อนเล็บ". โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย แผนกประถม. สืบค้นเมื่อ 27 ตุลาคม 2556. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)