ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สวนลุมพินี"

พิกัด: 13°43′50″N 100°32′30″E / 13.73056°N 100.54167°E / 13.73056; 100.54167
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{about|สวนสาธารณะในกรุงเทพมหานคร|พุทธศาสนสถาน|ลุมพินีวัน|สวนสาธารณะในไฮเดอราบาด ประเทศอินเดีย|สวนลุมพินี (ไฮเดอราบาด ประเทศอินเดีย)}}
{{กล่องข้อมูล สวน
{{กล่องข้อมูล สวน
|name=สวนลุมพินี
|name=สวนลุมพินี
บรรทัด 15: บรรทัด 14:
|longtitude= 100.539064
|longtitude= 100.539064
}}
}}
ประวัติ แข่งว่าว วิ่งวัว ชิงช้า ม้าหมุน ภายใน พระบรมรูป สร้างในปี 2485 ตะวันยิ้ม ขั้นบันได สนามเด็กเล่น ที่จอดรถ คนพิการ อาวุโส สังสรรค์ พักผ่อน
'''สวนลุมพินี''' หรือที่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า '''สวนลุม''' เป็น[[สวนสาธารณะ]]แห่งแรกของประเทศไทย เปิดให้บริการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2468 ตั้งอยู่บน[[ถนนพระรามที่ 4]] ล้อมรอบด้วย[[ถนนวิทยุ]] [[ถนนราชดำริ]] และถนนสารสิน [[แขวงลุมพินี]] [[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพมหานคร]] ก่อสร้างในสมัย[[รัชกาลที่ 7]] ในที่ดินเดิมเนื้อที่ 360 ไร่ ณ ทุ่งศาลาแดง ที่[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]พระราชทานสำหรับสร้าง "สยามรัฐพิพิธภัณฑ์" เพื่อจัดแสดงสินค้าไทยเป็นครั้งแรก และจัดให้เป็น "สวนสาธารณะ" สำหรับประชาชน พร้อมทั้งพระราชทานนามว่า "สวนลุมพินี" ซึ่งเป็นชื่อสถานที่ประสูติของ[[พระพุทธเจ้า]]ใน[[ประเทศเนปาล]] แต่พระองค์เสด็จสวรรคตก่อนจึงไม่แล้วเสร็จ


ออกกำลังกาย อาชีพ 8:00-18:00 ศูนย์เด็ก ปรึกษา ช่วยเหลือ สอนหนังสือ เร่ร่อน 10:00-19:00 ห้องสมุด หนังสือ วิดีทัศน์ 8:00-20:00 เยาวชน กีฬา เด็ก
โดยในปี พ.ศ. 2568 สวนลุมพินีจะมีอายุครบ 100 ปี [[กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)|กรุงเทพมหานคร]]จึงมีการปรับภูมิทัศน์และปรับปรุงทัศนียภาพต่าง ๆ ภายในสวนให้ทันวาระครบรอบ


เยาวชน ฟุตบอล ว่ายน้ำ บาสเกตบอล ฝึกสอน ลีลาศ 10:00-20:00 อาหาร เครื่องดื่ม 4:30-10:00 จักรยานน้ำ เรือพาย เอกชน เกาะลอย 40 บาท 30 นาที
== ประวัติ ==
สวนลุมพินีเป็นสวนสาธารณะแห่งแรกของกรุงเทพมหานครและพระราชมรดกที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานไว้แก่ชาวพระนคร โดยมีจุดเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2468 ซึ่งทรงครองราชสมบัติครบ 15 ปี ประกอบกับเศรษฐกิจตกต่ำหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 จึงทรงมีพระราชดำริจะจัดงานแสดงพิพิธภัณฑ์สรรพสินค้าและทรัพยากรธรรมชาติ ดังเช่นประเทศตะวันตกทำได้ผลมาแล้ว โดยกำหนดจัดในฤดูหนาวปลายปี พ.ศ. 2468 และมีพระราชดำริว่าเมื่อเลิกการจัดงานแล้ว สถานที่นั่นควรจัดทำเป็นสวนพฤกษชาติ เพื่อให้ประชาชนได้ศึกษาและใช้พักผ่อน ทรงเลือกบริเวณทุ่งศาลาแดงที่ดินส่วนพระองค์ที่เหลือจากแบ่งเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยไปแล้ว เป็นที่จัดงานและทรงสละพระราชทรัพย์เป็นทุนประเดิมในการเตรียมสถานที่ ครั้งนั้นมีการขุดสระกว้าง สร้างเกาะลอยกลางน้ำ ตัดถนน และสร้างถาวรวัตถุ เช่น หอนาฬิกา ตึกแบบกรีก ทรงพระราชทานชื่อว่า สวนลุมพินี หมายถึง สถานที่ประสูติแห่งพระพุทธเจ้า ณ ตำบลลุมพินีวัน ประเทศเนปาล แต่ด้วยทรงเสด็จสวรรคตก่อนกำหนดเปิดงานจึงต้องล้มเลิกงานไป ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 7 โครงการนี้จึงถูกรื้อฟื้นอีกครั้ง โดยทรงให้เช่าที่ดินด้านใต้ของสวนลุมพินี 90 ไร่ จัดเป็น “วนาเริงรมย์” คล้ายสวนสนุก และนำค่าเช่ามาปรับปรุงที่ดิน ส่วนที่เหลือเปิดเป็นสวนสาธารณะ นับแต่นั้น สวนลุมพินี จึงเป็นสถานที่ให้ความเพลิดเพลินสนุกสนานแก่ประชาชน มีทั้งการละเล่น แข่งว่าว วิ่งวัว ชิงช้า ม้าหมุน โดยทรงพระราชทานที่ดินให้รัฐบาลดูแล และมีกระแสรับสั่งให้ใช้เพื่อสวนสาธารณะเท่านั้น ต่อมาสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 สวนลุมพินีกลายเป็นที่ตั้งค่ายทหารญี่ปุ่น สวนแห่งนี้จึงลดบทบาทลง จนสงครามสิ้นสุดในปี พ.ศ. 2495 – 2497 จึงถูกใช้เป็นที่จัดงานฉลองรัฐธรรมนูญและมีการประกวด[[นางสาวไทย|นางสาวสยาม]] บริเวณเกาะลอย


ธรรมะ ต่อสังคม ตักบาตร แสดงธรรมะ พระสงฆ์ 6:00-8:00 ดนตรี ไทย สากล Bangkok Symphony สถานที่ ดังนี้ เหนือ สารสิน ใต้ พระราม 4 ตะวันออก วิทยุ
==ภายในสวน==
'''พระบรมรูป[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว|รัชกาลที่ 6]]''' สร้างในปี 2485 เพื่อระลึกถึงมหากรุณาธิคุณขององค์ผู้ให้กำเนิดสวนลุมพินี


ตะวันตก ราชดำริ เดินทาง รถไฟฟ้า มหานคร สีลม ลุมพินี บีทีเอส ราชดำริ ศาลาแดง รถเมล์ พระราม 4 4 14 47 67 74 76 106 109 115 ปอ.7 วิทยุ 13 17 62
'''ลานตะวันยิ้ม''' ลานเพื่อกิจกรรมนันทนาการที่ออกแบบเพื่อคนพิการโดยเฉพาะ เช่น มีทางลาดแทนขั้นบันได สนามเด็กเล่นชนิดพิเศษ ที่จอดรถคนพิการ และสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อคนด้อยโอกาสครบครัน

'''สโมสรพลเมืองอาวุโสแห่งเมืองกรุงเทพมหานคร''' ตั้งอยู่ ณ อาคารลุมพินีสถาน เป็นที่พบปะสังสรรค์ พักผ่อนออกกำลังกายและฝึกอาชีพของผู้สูงอายุ เปิดบริการเวลา 08.00 – 18.00 น. ทุกวัน และในอาคารยังมีเวทีลีลาศหมุนได้ใช้เป็นที่จัดกิจกรรมลีลาศและฝึกสอนในวันเสาร์ – อาทิตย์

'''ศูนย์สร้างโอกาสเด็กสวนลุมพินี''' ให้บริการแนะนำ ปรึกษา ช่วยเหลือ สอนหนังสือแก่เด็กเร่ร่อน เปิดบริการ 10.00 – 19.00 น. ทุกวัน

'''[[ห้องสมุด]]ประชาชนสวนลุมพินี''' เสนอบริการในรูปแหล่งค้นคว้าความรู้จากหนังสือและวิดีทัศน์ เปิดบริการเวลา 08.00 – 20.00 น. วันอังคาร – อาทิตย์

'''ศูนย์เยาวชนลุมพินี''' นำเสนอกิจกรรมกีฬา และฝึกสอนแก่เด็กและเยาวชน จัดสถานที่และอุปกรณ์กีฬาไว้ให้บริการสมาชิก เช่น ฟุตบอล ว่ายน้ำ บาสเก็ตบอล ฝึกสอนลีลาศ เปิดบริการ วันจันทร์ – ศุกร์ เวลา 10.00 – 20.00 น. และวันเสาร์ – อาทิตย์ เวลา 10.00 – 18.00 น.

'''ศูนย์อาหารศรีไทยเดิม''' จำหน่ายอาหาร เครื่องดื่ม เปิดบริการ เวลา 04.30 – 10.00 น. ทุกวัน

'''[[จักรยานน้ำ]]และเรือพาย''' เป็นจุดบริการของเอกชน อยู่รอบเกาะลอย อัตราค่าบริการ 40 บาท/30 นาที

'''ธรรมะในสวนกิจกรรมทาง[[ศาสนาพุทธ|พุทธศาสนา]]''' เพื่อเป็นประโยชน์ต่อสังคม โดยมีการทำบุญตักบาตร และแสดงธรรมะโดยพระสงฆ์ ทุกวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือน เวลา 06.00 – 08.00 น.

'''ดนตรีในสวน''' มีการจัดแสดงดนตรีไทยและสากล เช่น การบรรเลงเพลงจากวง Bangkok Symphony Orchestra (BSO)

==สถานที่ตั้ง==
สวนลุมพินีถูกล้อมรอบด้วยถนนทั้ง 4 ด้าน ดังนี้

* '''ด้านทิศเหนือ''' ติด[[ถนนสารสิน]]
* '''ด้านทิศใต้''' ติด[[ถนนพระรามที่ 4]]
* '''ด้านทิศตะวันออก''' ติด[[ถนนวิทยุ]]
* '''ด้านทิศตะวันตก''' ติด[[ถนนราชดำริ]]

==การเดินทาง==

=== [[รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล|รถไฟฟ้า]]===
*'''[[รถไฟฟ้ามหานคร]]''' [[สถานีสีลม]] และ [[สถานีลุมพินี]]
*'''[[รถไฟฟ้าบีทีเอส]]''' [[สถานีราชดำริ]] และ [[สถานีศาลาแดง]]

===[[องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ|รถประจำทาง]]===
* ถนนพระราม 4 สาย 4 14 47 67 74 76 106 109 115 ปอ.7
* ถนนวิทยุ สาย 13 17 62 76 106
* ถนนสารสิน สาย 13 76 106
* ถนนราชดำริ สาย 14 15 74 77 119 ปอ.4 ปอ.5

==สถานที่ใกล้เคียง==
[[ไฟล์:KCMHatsuanlum.jpg|right|thumb|199x199px|โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์เมื่อมองจากสวนลุมพินี]]
ในบริเวณใกล้เคียงสวนลุมพินี ยังเป็นที่ตั้งของสถานที่สำคัญหลายแห่ง เช่น
* [[โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์]] [[สภากาชาดไทย]]
* [[อับดุลราฮิม เพลส]]
* [[ดุสิต เซ็นทรัล พาร์ค]] หรือ โรงแรมดุสิตธานีเดิม (กำหนดเปิดบางส่วนประมาณปี พ.ศ. 2565)
* [[วัน แบงค็อก]] (กำหนดเปิดบางส่วนประมาณปี พ.ศ. 2566)


76 106 สารสิน 13 76 106 ราชดำริ 14 15 74 77 119 ปอ.4 ปอ.5 ใกล้เคียง[[ไฟล์:KCMHatsuanlum.jpg|right|thumb|199x199px|โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์เมื่อมองจากสวนลุมพินี]]
เช่น จุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย อับดุล เพลส ดุสิตธานี วัน แบงค็อก
==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
*[http://www.yourhealthyguide.com/parks/park-lumpinee.htm สวนลุมพินี]
*[http://www.yourhealthyguide.com/parks/park-lumpinee.htm สวนลุมพินี]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:04, 27 กรกฎาคม 2563

สวนลุมพินี
แผนที่
ประเภทสวนชุมชน
ที่ตั้งแยกศาลาแดง ถนนพระรามที่ 4 ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร
พื้นที่360 ไร่
เปิดตัวพ.ศ. 2468
ผู้ดำเนินการตราสัญลักษณ์กรุงเทพมหานคร  กรุงเทพมหานคร
สถานะ04.30 – 21.00 น. ทุกวัน

ประวัติ แข่งว่าว วิ่งวัว ชิงช้า ม้าหมุน ภายใน พระบรมรูป สร้างในปี 2485 ตะวันยิ้ม ขั้นบันได สนามเด็กเล่น ที่จอดรถ คนพิการ อาวุโส สังสรรค์ พักผ่อน

ออกกำลังกาย อาชีพ 8:00-18:00 ศูนย์เด็ก ปรึกษา ช่วยเหลือ สอนหนังสือ เร่ร่อน 10:00-19:00 ห้องสมุด หนังสือ วิดีทัศน์ 8:00-20:00 เยาวชน กีฬา เด็ก

เยาวชน ฟุตบอล ว่ายน้ำ บาสเกตบอล ฝึกสอน ลีลาศ 10:00-20:00 อาหาร เครื่องดื่ม 4:30-10:00 จักรยานน้ำ เรือพาย เอกชน เกาะลอย 40 บาท 30 นาที

ธรรมะ ต่อสังคม ตักบาตร แสดงธรรมะ พระสงฆ์ 6:00-8:00 ดนตรี ไทย สากล Bangkok Symphony สถานที่ ดังนี้ เหนือ สารสิน ใต้ พระราม 4 ตะวันออก วิทยุ

ตะวันตก ราชดำริ เดินทาง รถไฟฟ้า มหานคร สีลม ลุมพินี บีทีเอส ราชดำริ ศาลาแดง รถเมล์ พระราม 4 4 14 47 67 74 76 106 109 115 ปอ.7 วิทยุ 13 17 62

76 106 สารสิน 13 76 106 ราชดำริ 14 15 74 77 119 ปอ.4 ปอ.5 ใกล้เคียง

โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์เมื่อมองจากสวนลุมพินี

เช่น จุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย อับดุล เพลส ดุสิตธานี วัน แบงค็อก

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

13°43′50″N 100°32′30″E / 13.73056°N 100.54167°E / 13.73056; 100.54167