ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติสหรัฐ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ธนาธร (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 182: บรรทัด 182:
| 13
| 13
| 13
| 13
|bgcolor=silver
|}
{{col-2}}
{| class="wikitable" style="text-align: center;"
|-
! colspan=8 | [[กีฬาวอลเลย์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อน|สถิติในโอลิมปิกฤดูร้อน]]
|-
! ปี
! เข้าถึงรอบ
! อันดับ
! {{Tooltip|ลงแข่ง|ลงแข่ง}}
!{{Tooltip|ชนะ|ชนะ}}
!{{Tooltip|แพ้|แพ้}}
!{{Tooltip|ชนะ|เซ็ทชนะ}}
!{{Tooltip|แพ้|เซ็ทแพ้}}
|- bgcolor=silver
| {{flagicon|CHN}} [[วอลเลย์บอลหญิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008|2008]]
| {{flagicon|CHN}} [[วอลเลย์บอลหญิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008|2008]]
| รอบชิงชนะเลิศ
| รอบชิงชนะเลิศ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:09, 8 กรกฎาคม 2562

สหรัฐ
สมาคมยูเอสเอวอลเลย์บอล
สมาพันธ์นอร์เซกา
หัวหน้าผู้ฝึกสอนสหรัฐ คาร์ช กิราย[1]
อันดับเอฟไอวีบี2 (ณ 26 กันยายน 2023)
เครื่องแบบ
เหย้า
เยือน
โอลิมปิกฤดูร้อน
เข้าแข่งขัน11 (ครั้งแรกเมื่อ 1964)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด รองชนะเลิศ (1984, 2008, 2012)
ชิงแชมป์โลก
เข้าร่วมแข่งขัน15 (ครั้งแรกเมื่อ 1956)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด ชนะเลิศ (2014)
เวิลด์คัพ
เข้าร่วมแข่งขัน10 (ครั้งแรกเมื่อ 1973)
www.usavolleyball.org
เกียรติประวัติ
โอลิมปิกฤดูร้อน
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1984 แคลิฟอร์เนีย ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2008 ปักกิ่ง ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2012 ลอนดอน ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1992 บาร์เซโลนา ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2016 รีโอเดจาเนโร ทีม
ชิงแชมป์โลก
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2014 อิตาลี ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1967 ญี่ปุ่น ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2002 เยอรมนี ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1982 เปรู ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1990 จีน ทีม
เวิลด์คัพ
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2011 ญี่ปุ่น ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2003 ญี่ปุ่น ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2007 ญี่ปุ่น ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2015 ญี่ปุ่น ทีม
เวิลด์แกรนด์แชมเปียนคัพ
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2005 ญี่ปุ่น ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2013 ญี่ปุ่น ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2015 ญี่ปุ่น ทีม
เนชันส์ลีก
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2018 หนานจิง ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2019 หนานจิง ทีม
วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1995 เซี่ยงไฮ้ ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2001 มาเก๊า ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ หนิงโป 2010 หนิงปัว ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2011 มาเก๊า ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2012 หนิงปัว ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2015 โอมาฮา ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2003 อานดรีอา ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2004 เรจจีโอกาลาเบรีย ทีม
แพน-อเมริกันเกมส์
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1967 วินนิเพ็ก ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2015 โทรอนโต ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1955 เม็กซิโกซิตี ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1959 ชิคาโก ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1963 เซาเปาลู ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1983 การากัส ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1995 มาร์เดลปลาตา ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1987 อินเดียแนโพลิส ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1999 วินนิเพ็ก ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2003 ซานโตโดมิงโก ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2007 รีโอเดจาเนโร ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2011 กวาดาลาฮารา ทีม
แพน-อเมริกันคัพ
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2003 ซัลตีโย ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2012 เมฆิกาลิ ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2013 เปรู ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2004 เมฆิกาลิ ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2010 โรซาริโอ/ติฆัวนา ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2011 ชีวาวา/เมฆิกาลิ ทีม
ไฟนอลโฟร์คัพ
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ [2009 ลิมา ทีม
สมาชิกวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติสหรัฐอเมริกาใน ค.ศ. 2008

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติสหรัฐ (อังกฤษ: United States women's national volleyball team) เป็นตัวแทนของสหรัฐในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติรวมถึงนัดกระชับมิตร ทีมนี้ได้รับการบริหารโดยองค์กรยูเอสเอวอลเลย์บอล[1]

ในการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 ทีมชาติสหรัฐอเมริกาได้รับรางวัลเหรียญเงิน ด้วยการแพ้บราซิล 3-0 เซต[2]

ใน ค.ศ. 2014 ทีมสหรัฐอเมริกาได้เข้าแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2014 แล้วสร้างผลงานคว้าแชมป์มาครองเป็นสมัยแรก ภายใต้การควบคุมทีมของคาร์ช คิราลีย์[3]

รางวัล

โอลิมปิกฤดูร้อน

  ชนะเลิศ    รองชนะเลิศ    อันดับที่ 3    อันดับที่ 4

วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก

  ชนะเลิศ    รองชนะเลิศ    อันดับที่ 3    อันดับที่ 4

เวิลด์คัพ

  • อุรุกวัย 1973 : อันดับที่ 6
  • ญี่ปุ่น 1977 : อันดับที่ 7
  • ญี่ปุ่น 1981 : อันดับที่ 4
  • ญี่ปุ่น 1985 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 1989 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 1991 : อันดับที่ 4
  • ญี่ปุ่น 1995 : อันดับที่ 7
  • ญี่ปุ่น 1999 : อันดับที่ 9
  • ญี่ปุ่น 2003 : เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 2007 : เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 2011 : เหรียญเงิน
  • ญี่ปุ่น 2015 : เหรียญทองแดง

วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมเปียนคัพ

วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์

  • ฮ่องกง 1993 : อันดับที่ 7
  • จีน 1994 : อันดับที่ 6
  • จีน 1995 : เหรียญทอง
  • จีน 1996 : อันดับที่ 5
  • ญี่ปุ่น 1997 : อันดับที่ 8
  • ฮ่องกง 1998 : อันดับที่ 8
  • จีน 1999 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ฟิลิปปินส์ 2000 : อันดับที่ 6
  • มาเก๊า 2001 : เหรียญทอง
  • ฮ่องกง 2002 : อันดับที่ 6
  • อิตาลี 2003 : เหรียญทองแดง
  • อิตาลี 2004 : เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 2005 : อันดับที่ 8
  • อิตาลี 2006 : อันดับที่ 7
  • จีน 2007 : อันดับที่ 8
  • ญี่ปุ่น 2008 : อันดับที่ 4
  • ญี่ปุ่น 2009 : อันดับที่ 9
  • จีน 2010 : เหรียญทอง
  • มาเก๊า 2011 : เหรียญทอง
  • จีน 2012 : เหรียญทอง
  • ญี่ปุ่น 2013 : อันดับที่ 6
  • ญี่ปุ่น 2014 : อันดับที่ 6
  • สหรัฐ 2015 : เหรียญทอง
  • ไทย 2016 :   เหรียญเงิน
  • จีน 2017 : อันดับที่ 5

เนชันส์ลีก

  • จีน 2018 : เหรียญทอง
  • จีน 2019 : เหรียญทอง

แพน-อเมริกันเกมส์

  • เม็กซิโก 1955 : เหรียญเงิน
  • สหรัฐ 1959 : เหรียญเงิน
  • บราซิล 1963 : เหรียญเงิน
  • แคนาดา 1967 : เหรียญทอง
  • โคลอมเบีย 1971 : เหรียญเงิน
  • เม็กซิโก 1975 : อันดับที่ 6
  • ปวยร์โตรีโก 1979 : อันดับที่ 4
  • เวเนซุเอลา 1983 : เหรียญเงิน
  • สหรัฐ 1987 : เหรียญทองแดง
  • คิวบา 1991 : อันดับที่ 5
  • อาร์เจนตินา 1995 : เหรียญเงิน
  • แคนาดา 1999 : เหรียญทองแดง
  • สาธารณรัฐโดมินิกัน 2003 : เหรียญทองแดง
  • บราซิล 2007 : เหรียญทองแดง
  • เม็กซิโก 2011 : เหรียญทองแดง

แพน-อเมริกันคัพ

  • เม็กซิโก 2002 : อันดับที่ 6
  • เม็กซิโก 2003 : เหรียญทอง
  • เม็กซิโก 2004 : เหรียญเงิน
  • สาธารณรัฐโดมินิกัน 2005 : อันดับที่ 4
  • ปวยร์โตรีโก 2006 : อันดับที่ 4
  • เม็กซิโก 2007 : อันดับที่ 4
  • เม็กซิโก 2008 : อันดับที่ 5
  • สหรัฐ 2009 : อันดับที่ 4
  • เม็กซิโก 2010 : เหรียญทองแดง
  • เม็กซิโก 2011 : เหรียญทองแดง
  • เม็กซิโก 2012 : เหรียญทอง
  • เปรู 2013 : เหรียญทอง

ไฟนอล โฟร์ คัพ

  • บราซิล 2008 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เปรู 2009 : เหรียญเงิน

มอนเทร็กซ์ วอลเลย์ มาสเตอร์

  • สวิตเซอร์แลนด์ 1991 : เหรียญเงิน
  • สวิตเซอร์แลนด์ 1992 : อันดับที่ 4
  • สวิตเซอร์แลนด์ 1993 : อันดับที่ 6
  • สวิตเซอร์แลนด์ 1994 : อันดับที่ 4
  • สวิตเซอร์แลนด์ 1995 : เหรียญทองแดง
  • สวิตเซอร์แลนด์ 1996 : เหรียญทองแดง
  • สวิตเซอร์แลนด์ 1998 : อันดับที่ 6
  • สวิตเซอร์แลนด์ 1999 : อันดับที่ 7
  • สวิตเซอร์แลนด์ 2000 : อันดับที่ 7
  • สวิตเซอร์แลนด์ 2001 : อันดับที่ 5
  • สวิตเซอร์แลนด์ 2002 : อันดับที่ 7
  • สวิตเซอร์แลนด์ 2003 : อันดับที่ 4
  • สวิตเซอร์แลนด์ 2004 : เหรียญเงิน
  • สวิตเซอร์แลนด์ 2005 : อันดับที่ 7
  • สวิตเซอร์แลนด์ 2010 : เหรียญเงิน
  • สวิตเซอร์แลนด์ 2011 : อันดับที่ 4
  • สวิตเซอร์แลนด์ 2014 : เหรียญเงิน

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์นอร์เซกา

  • เม็กซิโก 1969 : อันดับที่ 6
  • คิวบา 1971 : เหรียญทองแดง
  • เม็กซิโก 1973 : เหรียญทองแดง
  • สหรัฐ 1975 : เหรียญเงิน
  • สาธารณรัฐโดมินิกัน 1977 : เหรียญทองแดง
  • คิวบา 1979 : เหรียญเงิน
  • เม็กซิโก 1981 : เหรียญทอง
  • สหรัฐ 1983 : เหรียญทอง
  • สาธารณรัฐโดมินิกัน 1985 : เหรียญเงิน
  • คิวบา 1987 : เหรียญเงิน
  • ปวยร์โตรีโก 1989 : เหรียญทองแดง
  • แคนาดา 1991 : เหรียญเงิน
  • สหรัฐ 1993 : เหรียญเงิน
  • สาธารณรัฐโดมินิกัน 1995 : เหรียญเงิน
  • ปวยร์โตรีโก 1997 : เหรียญเงิน
  • เม็กซิโก 1999 : เหรียญเงิน
  • สาธารณรัฐโดมินิกัน 2001 : เหรียญทอง
  • สาธารณรัฐโดมินิกัน 2003 : เหรียญทอง
  • ตรินิแดดและโตเบโก 2005 : เหรียญทอง
  • แคนาดา 2007 : เหรียญเงิน
  • ปวยร์โตรีโก 2009 : อันดับที่ 4
  • ปวยร์โตรีโก 2011 : เหรียญทอง
  • สหรัฐ 2013 : เหรียญทอง

หัวหน้าผู้ฝึกสอนในอดีต

รายชื่อนักกีฬาชุดปัจจุบัน

เบอร์ ชื่อ วันเกิด ส่วนสูง ตบ บล็อก สโมสร 2015-2016 ตำแหน่ง
1 อะลิชา แกลสส์ 5 เมษายน ค.ศ. 1988 184 399 300 อิตาลี อิโมโค วอลเลย์ ตัวเซต
2 เคย์ลา แบนเวิร์ท 21 มกราคม ค.ศ. 1989 178 376 283 สหรัฐ USA VOLLEYBALL ตัวรับอิสระ
3 คอร์ทนีย์ ทอมป์สัน 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1984 170 387 263 บราซิล เรโซนาเซซ-ริโอ ตัวเซต
5 เรเชล อดัมส์ 3 มิถุนายน ค.ศ. 1990 188 388 307 ตุรกี เอจซาจือบาซือ บอลเร็ว
6 คาร์ลี่ ลอยด์ 6 สิงหาคม ค.ศ. 1989 180 343 295 อิตาลี โปมิ กาซัลมัจจีโอเร ตัวตบหัวเสา
10 จอร์แดน ลาร์สัน 10 ตุลาคม ค.ศ. 1986 188 399 295 ตุรกี เอจซาจือบาซือ ตัวตบหัวเสา
12 เคลลี่ เมอร์ฟีย์ 20 ตุลาคม ค.ศ. 1989 188 309 307 ญี่ปุ่น อะเงะโอะเมดิกส์ ตัวตบตรงข้ามหัวเสา
13 คริสตาร์ ฮาร์มอตโต 12 ตุลาคม ค.ศ. 1986 188 344 300 ตุรกี

เฟแนร์บาหแช

ตัวบล็อก/บอลเร็ว
15 คิมเบอร์ลี ฮิลล์ 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1989 193 400 310 ตุรกีวาคีฟแบงค์ อิสตันบลู ตัวตบหัวเสา
16 โฟรุค อคินราเดโว 5 ตุลาคม ค.ศ. 1987 191 403 300 สวิตเซอร์แลนด์วอลเลโร ซูริค ตัวบล็อก/บอลเร็ว
23 เคลซีย์ โรบินสัน 25 มิถุนายน ค.ศ. 1992 188 398 298 อิตาลี อิโมโค วอลเลย์ ตัวตบหัวเสา
25 คาร์สตา โลว์ 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1993 191 398 295 อิตาลี ยูเนยโดยามาเมย์บัสโตอาซิสิโอ ตัวตบตรงข้ามหัวเสา

อ้างอิง

ดูเพิ่ม