ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประชาไท"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Khampirat (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 12: บรรทัด 12:


ชื่อประชาไทในภาษาไทยมักถูกสะกดผิดเป็น "ประชาไทย"<ref name="ประชาไท..ไม่มี ย.ยักษ์">[http://blogazine.prachatai.com/user/dialogue/post/1958 ประชาไท.. ไม่มี ย.ยักษ์], เว็บไซต์ประชาไท, เรียกดูเมื่อ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2552</ref> ส่วนชื่อในภาษาอังกฤษใช้ว่า "Prachatai"
ชื่อประชาไทในภาษาไทยมักถูกสะกดผิดเป็น "ประชาไทย"<ref name="ประชาไท..ไม่มี ย.ยักษ์">[http://blogazine.prachatai.com/user/dialogue/post/1958 ประชาไท.. ไม่มี ย.ยักษ์], เว็บไซต์ประชาไท, เรียกดูเมื่อ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2552</ref> ส่วนชื่อในภาษาอังกฤษใช้ว่า "Prachatai"

ประชาไท เป็นสื่อที่มักนำเสนอความเคลื่อนไหวของกลุ่มหมิ่นพระบรมเดชานุภาพในต่างประเทศ หรือกลุ่มที่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพภายในประเทศ ในลักษณะช่วยเหลือ อาทิ กรณีของ สิรภพ กรณ์อรุษ ซึ่งสื่อประชาไท ช่วยเหลือโดยเขียนทำนองว่า คงไม่มีใครคาดคิดว่า เพียงแค่การแสดงความคิดเห็นทางการเมืองหรือการเขียนกาพย์กลอนการเมืองจะเป็นเหตุให้ต้องถูกเจ้าหน้าที่ทหารตามไล่ล่า หรือทำให้ครอบครัวต้องตกอยู่ในสภาวะหวาดกลัว เพื่อให้ประชาชนเข้าใจว่าคณะรักษาความสงบแห่งชาติทำเกินกว่าเหตุ ทั้งที่เขาเขียน blog หมิ่นสถาบันกษัตรย์เป็นเวลานานรวมถึงลงรูปตัดต่อเกี่ยวกับ [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ]]


== ส่วนต่าง ๆ ==
== ส่วนต่าง ๆ ==
บรรทัด 26: บรรทัด 24:


เว็บบอร์ดประชาไทปิดตัวลงเมื่อ 31 กรกฎาคม 2553 โดยจีรนุช เปรมชัยพร ให้เหตุผลในจดหมายถึงผู้อ่านและสมาชิกเว็บบอร์ดว่าเป็นเพราะสถานการณ์การจับกุมผู้โพสต์แสดงความคิดเห็นในพื้นที่ออนไลน์เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วงดังกล่าว ทั้งที่เป็นข่าวและไม่เป็นข่าวจากข้อกล่าวหา “เป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติ” ด้วยพ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์, พ.ร.ก.สถานการณ์ฉุกเฉิน และกฎหมายอาญามาตรา 112<ref>[http://prachatai.com/journal/2010/07/30243 ใต้เท้าขอรับ : 'เว็บบอร์ด'...แล้ววันนี้ก็มาถึง]</ref>
เว็บบอร์ดประชาไทปิดตัวลงเมื่อ 31 กรกฎาคม 2553 โดยจีรนุช เปรมชัยพร ให้เหตุผลในจดหมายถึงผู้อ่านและสมาชิกเว็บบอร์ดว่าเป็นเพราะสถานการณ์การจับกุมผู้โพสต์แสดงความคิดเห็นในพื้นที่ออนไลน์เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วงดังกล่าว ทั้งที่เป็นข่าวและไม่เป็นข่าวจากข้อกล่าวหา “เป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติ” ด้วยพ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์, พ.ร.ก.สถานการณ์ฉุกเฉิน และกฎหมายอาญามาตรา 112<ref>[http://prachatai.com/journal/2010/07/30243 ใต้เท้าขอรับ : 'เว็บบอร์ด'...แล้ววันนี้ก็มาถึง]</ref>
== ข้อกล่าวหา ==
โทนี คาตาลัคซี นักค้นคว้าวิจัยทางการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้ออกมาระบุว่านักวิชาการกลุ่มดังกล่าวรับเงินจากองค์กร National Endowment for Democracy ในประเทศสหรัฐอเมริกา<ref>http://www.isranews.org/isranews-scoop/item/26133-tk_26133.html</ref>
เขากล่าวว่า นางสาว [[สาวตรี สุขศรี]] สมาชิกกลุ่มนิติราษฎร์ ที่ถูกจับกุมวันนี้ ได้ “รับเงินสนับสนุน” <ref>http://chaoprayanews.com/blog/worldcomment/2014/06/08/%E2%80%98%E0%B9%82%E0%B8%97%E0%B8%99%E0%B8%B5-%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%84%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E2%80%99-%E0%B9%81%E0%B8%89%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B8%B4/</ref>จาก “สถานทูตสหรัฐฯ” ให้ไป “Study Trip” เรื่อง สิทธิมนุษยชน ซึ่งมีพฤติกรรมเช่นเดียวกับ รองศาสตราจารย์ ดร. [[ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี]] อาจารย์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ “รับเงินสนับสนุน” จากอเมริกา คนพวกนี้ถือว่าเป็นนักวิชาการจอมปลอมที่อาศัยความเป็นนักวิชาการแต่ทำงานให้กับ [[โรเบิร์ต อัมสเตอร์ดัม]] ล็อบบี้ยิสต์ของทักษิณ โดยใช้ประเด็นสิทธิมนุษยชน โจมตีผู้ต่อต้านระบอบทักษิณ รวมถึงต่อต้านสถาบันกษัตริย์ไทยและ สื่อที่ปกป้องนักวิชาการพวกนี้ก็มีแต่เฉพาะ “ประชาไท” ที่ได้รับเงินสนับสนุนจากรัฐบาลอเมริกา เช่นเดียวกัน ทำให้พวกเขาทำงานเป็นขบวนการเดียวกัน เพราะมีแหล่งสนับสนุนจากที่เดียวกัน คือรัฐบาลอเมริกา เพื่อให้มา “โจมตี” ไทย ทั้งนี้ถ้าคุณมีปัญหากับประเทศของคุณ คุณมีสิทธิที่ลุกขึ้นเพื่อต่อต้านได้ แต่ถ้าคุณรับเงินจากต่างประเทศเพื่อมาโจมตีและต่อต้านประเทศของคุณ พฤติกรรมแบบนี้ เขาเรียกว่า “กบฏทรยศแผ่นดิน”
ทั้งนี้ ภายหลัง [[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557]] นางคริสตี เคนนีย์ เอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทย ได้แวะเข้าเยี่ยมพูดคุยกับ น.ส.จีรนุช เปรมชัยพร ผู้อำนวยการเว็บไซด์ประชาไท <ref>http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9570000111092</ref>ซึ่งเรื่องนี้มีการวิจารณ์อย่างมากถึงความเป็นไปได้ที่รัฐบาลสหรัฐอเมริกาสนับสนุนทางการเงิน และต่อม น.ส.จีรนุช เปรมชัยพร ยอมรับว่าได้รับเงินบริจาคจากมูลนิธิ [[จอร์จ โซรอส]]<ref>http://www.nationtv.tv/main/content/politics/378513810/</ref>

== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==



รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:44, 22 พฤศจิกายน 2559

ประชาไท เป็นหนังสือพิมพ์ออนไลน์ ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2547 โดย จอน อึ๊งภากรณ์ นำเสนอข่าวสารทั่วไป โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับสังคม การเมือง สิทธิมนุษยชน บทสัมภาษณ์และข้อเขียนของนักวิชาการ นักเคลื่อนไหว องค์กรสิทธิ และองค์กรพัฒนาเอกชน ผู้อำนวยการปัจจุบันคือ จีรนุช เปรมชัยพร บรรณาธิการคือ ชูวัส ฤกษ์ศิริสุข[1]

ประชาไท (เฉพาะ prachathai.com) เป็นเว็บไซต์ที่มีผู้เข้าชมจากประเทศไทยมากเป็นอันดับที่ 3,889 (19 กันยายน 2557) จากการจัดอันดับโดยอะเล็กซา [2]

ประวัติ

ประชาไทริเริ่มโดยแนวคิดของ จอน อึ๊งภากรณ์ ซึ่งต้องการทำสื่อที่เป็นอิสระไม่ถูกควบคุมโดยหน่วยงานภาครัฐ หลังจากได้เห็นตัวอย่างสื่อในประเทศฟิลิปปินส์ ชื่อ มินดานิวส์ จอนจึงเริ่ม โครงการวารสารข่าวทางอินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษาและสุขภาวะของชุมชน เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2547 โดยได้รับเงินทุนสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) ในภายหลังยังได้รับเงินอุดหนุนเพิ่มเติมจากมูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์ และ Open Society Institue[1]

ประชาไทเริ่มเผยแพร่ข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์ครั้งแรกเมื่อ 6 กันยายน พ.ศ. 2547[1]

ในระยะเริ่มต้นประชาไทจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลในชื่อ คณะบุคคล ร่วมดำเนินโครงการวารสารข่าวทางอินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษาและสุขภาวะของชุมชน ในภายหลังได้จดทะเบียนเป็นมูลนิธิชื่อว่า "มูลนิธิสื่อเพื่อการศึกษาของชุมชน" มีนายเกษม ศิริสัมพันธ์ เป็นประธานมูลนิธิ

ชื่อประชาไทในภาษาไทยมักถูกสะกดผิดเป็น "ประชาไทย"[3] ส่วนชื่อในภาษาอังกฤษใช้ว่า "Prachatai"

ส่วนต่าง ๆ

  • บล็อกกาซีน ข้อเขียนจากคอลันนิสต์และบล็อกเกอร์ต่าง ๆ
  • ประชาไทใส่เสียง เล่าข่าวทางวิทยุออนไลน์
  • บ้านเมืองไม่ใช่ของเรา รายการโทรทัศน์ออนไลน์
  • Prachatai English (ประชาไทฟุดฟิด) ข่าวฉบับภาษาอังกฤษ
  • นักข่าวพเนจร รายงานข่าวโดยประชาชน (ผู้สื่อข่าวพลเมือง)

เว็บบอร์ดประชาไท

เว็บบอร์ดประชาไท เป็นพื้นที่แยกต่างหากจากหนังสือพิมพ์ประชาไท ที่ www.prachataiwebboard.com เปิดเพื่อให้สาธารณะแลกเปลี่ยนกันเรื่องสังคมและการเมือง[4]

เว็บบอร์ดประชาไทปิดตัวลงเมื่อ 31 กรกฎาคม 2553 โดยจีรนุช เปรมชัยพร ให้เหตุผลในจดหมายถึงผู้อ่านและสมาชิกเว็บบอร์ดว่าเป็นเพราะสถานการณ์การจับกุมผู้โพสต์แสดงความคิดเห็นในพื้นที่ออนไลน์เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วงดังกล่าว ทั้งที่เป็นข่าวและไม่เป็นข่าวจากข้อกล่าวหา “เป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติ” ด้วยพ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์, พ.ร.ก.สถานการณ์ฉุกเฉิน และกฎหมายอาญามาตรา 112[5]

ดูเพิ่ม

วิกิซอร์ซมีงานที่เกี่ยวข้องกับ คำพิพากษาศาลแพ่ง ในคดีหมายเลขแดงที่ 1612/2553 (คดีปิดเว็บไซต์ประชาไท)

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น