น้ำแครนเบอร์รี
คุณค่าทางโภชนาการต่อ 248 ก. (1 ถ้วยตวง) | |
---|---|
พลังงาน | 451.9 กิโลจูล (108.0 กิโลแคลอรี) |
26.18 | |
น้ำตาล | 23.52 0 |
ใยอาหาร | 0.2 |
0.29 | |
อิ่มตัว | 0.005 |
ทรานส์ | 0 |
ไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่เดี่ยว | 0.005 |
ไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่หลายคู่ | 0.005 |
0.65 | |
วิตามิน | |
วิตามินเอ | 163 μg |
วิตามินเอ | 60 IU |
ไทอามีน (บี1) | (1%) 0.012 มก. |
ไรโบเฟลวิน (บี2) | (3%) 0.036 มก. |
ไนอาซิน (บี3) | (2%) 0.226 มก. |
วิตามินบี6 | (3%) 0.043 มก. |
โฟเลต (บี9) | (11%) 43 μg |
วิตามินบี12 | (0%) 0 μg |
คลอรีน | (1%) 4.3 มก. |
วิตามินซี | (91%) 75.6 มก. |
วิตามินดี | (0%) 0 μg |
วิตามินดี | (0%) 0.0 IU |
วิตามินอี | (0%) 0.02 มก. |
วิตามินเค | (0%) 0 μg |
แร่ธาตุ | |
แคลเซียม | (5%) 46 มก. |
เหล็ก | (1%) 0.19 มก. |
แมกนีเซียม | (3%) 12 มก. |
แมงกานีส | (8%) 0.161 มก. |
ฟอสฟอรัส | (3%) 19 มก. |
โพแทสเซียม | (4%) 182 มก. |
โซเดียม | (1%) 14 มก. |
สังกะสี | (1%) 0.12 มก. |
องค์ประกอบอื่น | |
น้ำ | 212.64 |
ประมาณร้อยละคร่าว ๆ โดยใช้การแนะนำของสหรัฐสำหรับผู้ใหญ่ แหล่งที่มา: USDA FoodData Central |
น้ำแครนเบอร์รี (อังกฤษ: cranberry juice) เป็นน้ำผลไม้เหลวของแครนเบอร์รี โดยทั่วไปผลิตขึ้นเพื่อให้มีการผสมน้ำตาล, น้ำ และน้ำผลไม้อื่น ๆ ซึ่งแครนเบอร์รี – ผลไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในอเมริกาเหนือ – ได้รับการยอมรับว่ามีสีแดงสด, เป็นเอกลักษณ์, รสทาร์ต และมีความอเนกประสงค์ในการผลิตผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์แครนเบอร์รีที่สำคัญ ได้แก่ แครนเบอร์รีแห้ง, ซอสแครนเบอร์รี, แครนเบอร์รีแช่แข็ง, ผงแครนเบอร์รี และน้ำแครนเบอร์รี[1]
คำว่า "ค็อกเทลน้ำแครนเบอร์รี" หรือ "น้ำแครนเบอร์รีผสม" หมายถึงผลิตภัณฑ์ที่มีน้ำแครนเบอร์รีประมาณ 28 เปอร์เซ็นต์ โดยที่เหลือมาจากน้ำผลไม้เข้มข้นอื่น ๆ (โดยทั่วไปคือองุ่น, แอปเปิล หรือลูกแพร์), น้ำเปล่า และการเติมน้ำตาลเพื่อเพิ่มความน่ารับประทาน ผลิตภัณฑ์น้ำแครนเบอร์รีแคลอรีต่ำใช้สารให้ความหวานที่ไม่มีแคลอรี ความเปรี้ยวของน้ำแครนเบอร์รีเกิดจากโพลีฟีนอลผสมกัน ซึ่งรวมถึงฟลาโวนอยด์, โปรแอนโธไซยานิดิน, แอนโทไซยานิน, กรดฟีนอลิก และเอลลาจิแทนนิน[2]
แม้จะมีชื่อเสียงมายาวนานในการให้ฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียต่อการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ (UTIs) แต่น้ำแครนเบอร์รีก็ไม่มีผลพิสูจน์ดังกล่าว[1] ตามที่คอเครนทบทวนการวิจัยทางคลินิกที่เสร็จสมบูรณ์[3] และคณะกรรมการทางวิทยาศาสตร์ของหน่วยงานความปลอดภัยด้านอาหารแห่งสภาพยุโรปซึ่งได้สรุปความสัมพันธ์ของเหตุและผลซึ่งไม่สามารถกำหนดได้ระหว่างการบริโภคแครนเบอร์รีกับความเสี่ยงของการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ[4]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 "Cranberry". National Center for Complementary and Integrative Health, US National Institutes of Health. 1 November 2016. สืบค้นเมื่อ 10 October 2019.
- ↑ Blumberg, JB; Camesano, TA; Cassidy, A; Kris-Etherton, P; Howell, A; Manach, C; Ostertag, LM; Sies, H; Skulas-Ray, A; Vita, JA (2013). "Cranberries and their bioactive constituents in human health". Advances in Nutrition. 4 (6): 618–32. doi:10.3945/an.113.004473. ISSN 2161-8313. PMC 3823508. PMID 24228191.
- ↑ Jepson, RG; Williams, G; Craig, JC (2012). "Cranberries for preventing urinary tract infections". Cochrane Database of Systematic Reviews. 10 (10): CD001321. doi:10.1002/14651858.CD001321.pub5. PMC 7027998. PMID 23076891. CD001321.
- ↑ EFSA Panel on Dietetic Products, Nutrition and Allergies (NDA) (May 2014). "Scientific Opinion on the substantiation of a health claim related to CranMax® and reduction of the risk of urinary tract infection by inhibiting the adhesion of certain bacteria in the urinary tract pursuant to Article 14 of Regulation (EC) No 1924/20061". EFSA Journal. 12 (5). doi:10.2903/j.efsa.2014.3657. 3657.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ น้ำแครนเบอร์รี