ข้ามไปเนื้อหา

นครศูนย์กลางของประเทศญี่ปุ่น

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก นครศูนย์กลาง (ญี่ปุ่น))
ซัปโปโระฮาโกดาเตะอาซาฮิกาวะอาโอโมริฮาจิโนเฮะโมริโอกะเซ็นไดอากิตะยามางาตะฟูกูชิมะโคริยามะอิวากิมิโตะสึกูบะอุตสึโนมิยะมาเอบาชิทากาซากิอิเซซากิโอตะไซตามะ (เมือง)คาวาโงเอะคูมางายะคาวางูจิโทโกโรซาวะคาซูกาเบะโซกะโคชิงายะชิบะฟูนาบาชิคาชิวะฮาจิโอจิโยโกฮามะคาวาซากิโยโกซูกะฮิรัตสึกะโอดาวาระชิงาซากิซางามิฮาระอัตสึงิยามาโตะนีงาตะนางาโอกะโจเอ็ตสึโทยามะคานาซาวะฟูกูอิโคฟุนางาโนะมัตสึโมโตะกิฟุชิซูโอกะฮามามัตสึนูมาซุฟูจินาโงยะโทโยฮาชิโอกาซากิอิจิโนมิยะคาซูงาอิโทโยตะยกกาอิจิโอตสึเกียวโตโอซากะซาไกคิชิวาดะโทโยนากะซูอิตะทากัตสึกิฮิรากาตะอิบารากิยาโอะเนยางาวะฮิงาชิโอซากะโคเบะฮิเมจิอามางาซากิอากาชินิชิโนมิยะคาโกงาวะทาการาซูกะนาระวากายามะทตโตริมัตสึเอะโอกายามะคูราชิกิฮิโรชิมะคูเระฟูกูยามะชิโมโนเซกิทากามัตสึมัตสึยามะโคจิคิตะกีวชูฟูกูโอกะคูรูเมะซางะนางาซากิซาเซโบะคูมาโมโตะโออิตะมิยาซากิคาโงชิมะนาฮะ
(สามารถคลิกที่วงกลมได้)
     นครใหญ่ที่รัฐกำหนด
     นครศูนย์กลาง
     นครพิเศษ

นครศูนย์กลาง (ญี่ปุ่น: 中核市โรมาจิChūkakushiทับศัพท์: ชูกากูชิ) เป็นนครประเภทหนึ่งของประเทศญี่ปุ่น เป็นเขตการปกครองที่ก่อตั้งขึ้นโดยรัฐบาลกลาง[1] นครศูนย์กลางได้รับมอบหมายให้ทำหน้าที่หลายอย่างที่ตามปกติแล้วจะดำเนินการโดยจังหวัด แต่นครศูนย์กลางมีอำนาจหน้าที่ไม่มากเท่านครใหญ่ที่รัฐกำหนด

ในการสมัครเพื่อยกฐานะเป็นนครศูนย์กลาง นครนั้นจะต้องมีประชากรมากกว่า 300,000 คน และมีพื้นที่มากกว่า 100 ตารางกิโลเมตร แต่ก็มีข้อยกเว้นพิเศษตามคำสั่งของคณะรัฐมนตรีในการยกฐานะนครที่มีประชากรต่ำกว่า 300,000 คน แต่มากกว่า 200,000 คน[2] หลังจากการยกเลิกการปกครองรูปแบบนครพิเศษในวันที่ 1 เมษายน 2015 นครใด ๆ ที่มีประชากรมากกว่า 200,000 คน ก็สามารถขอยกฐานะเป็นนครศูนย์กลางได้[3] การขอยกฐานะจะต้องได้รับความเห็นชอบจากทั้งสภานครและสภาจังหวัด

คำว่า "นครศูนย์กลาง" กำหนดขึ้นตามวรรคแรกของมาตรา 252 หมวด 22 ของกฎหมายปกครองตนเองท้องถิ่นของประเทศญี่ปุ่น[4]

รายชื่อนครศูนย์กลาง

[แก้]

ณ วันที่ 1 เมษายน 2020 ซึ่งเป็นวันที่มีการพิจารณาฐานะนครครั้งล่าสุด มีนคร 60 แห่งที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นนครศูนย์กลาง ดังนี้[3][5]

ภูมิภาค จังหวัด
(กิ่งจังหวัด)
ชื่อ วันที่แต่งตั้ง
เป็นนครศูนย์กลาง
หมายเหตุ
ฮกไกโด ฮกไกโด
(คามิกาวะ)
01204 อาซาฮิกาวะ 1 เมษายน 2000 ที่ตั้งสำนักงานกิ่งจังหวัด
ฮกไกโด
(โอชิมะ)
01202 ฮาโกดาเตะ 1 ตุลาคม 2005 ที่ตั้งสำนักงานกิ่งจังหวัด, เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 30 กันยายน 2005

โทโฮกุ

อาโอโมริ 02201 อาโอโมริ 1 ตุลาคม 2006 ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
02203 ฮาจิโนเฮะ 1 มกราคม 2017 เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2016
อิวาเตะ 03201 โมริโอกะ 1 เมษายน 2008 ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด, เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2008
อากิตะ 05201 อากิตะ 1 เมษายน 1997 ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
ยามางาตะ 06201 ยามางาตะ 1 เมษายน 2019 ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด, เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2019
ฟูกูชิมะ 07203 โคริยามะ 1 เมษายน 1997
07204 อิวากิ 1 เมษายน 1999
07201 ฟูกูชิมะ 1 เมษายน 2018 ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
คันโต อิบารากิ 08201 มิโตะ 1 เมษายน 2020 ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด, เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2020
โทจิงิ 09201 อุตสึโนมิยะ 1 เมษายน 1996 ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
กุมมะ 10201 มาเอบาชิ 1 เมษายน 2009 ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด, เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2009
10202 ทากาซากิ 1 เมษายน 2011 เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2011
ไซตามะ 11201 คาวาโงเอะ 1 เมษายน 2003
11222 โคชิงายะ 1 เมษายน 2015 เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2015
11203 คาวางูจิ 1 เมษายน 2018 เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2018
ชิบะ 12204 ฟูนาบาชิ 1 เมษายน 2003 เป็นนครศูนย์กลางที่มีประชากรมากที่สุด[6]
12217 คาชิวะ 1 เมษายน 2008
โตเกียว 13201 ฮาจิโอจิ 1 เมษายน 2015
คานางาวะ 14201 โยโกซูกะ 1 เมษายน 2001
ชูบุ โทยามะ 16201 โทยามะ 1 เมษายน 2005 ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
อิชิกาวะ 17201 คานาซาวะ 1 เมษายน 1996 ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
ฟูกูอิ 18201 ฟูกูอิ 1 เมษายน 2019 ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด, เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2019
ยามานาชิ 19201 โคฟุ 1 เมษายน 2019 เป็นนครศูนย์กลางที่มีมีประชากรน้อยที่สุด,[6] ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด, เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2019
นางาโนะ 20201 นางาโนะ 1 เมษายน 1999 ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
20202 มัตสึโมโตะ 1 เมษายน 2021 เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2021
กิฟุ 21201 กิฟุ 1 เมษายน 1996 ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
ไอจิ 23211 โทโยตะ 1 เมษายน 1998
23201 โทโยฮาชิ 1 เมษายน 1999
23202 โอกาซากิ 1 เมษายน 2003
23203 อิจิโนมิยะ 1 เมษายน 2021 เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2021
คันไซ ชิงะ 25201 โอตสึ 1 เมษายน 2009 ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด, เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2009
โอซากะ 27207 ทากัตสึกิ 1 เมษายน 2003
27227 ฮิงาชิโอซากะ 1 เมษายน 2005
27203 โทโยนากะ 1 เมษายน 2012 เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2012
27210 ฮิรากาตะ 1 เมษายน 2014 เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2014[7][8]
27212 ยาโอะ 1 เมษายน 2018 เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2018
27215 เนยางาวะ 1 เมษายน 2019 เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2019
27205 ซูอิตะ 1 เมษายน 2020 เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2020
เฮียวโงะ 28201 ฮิเมจิ 1 เมษายน 1996
28204 นิชิโนมิยะ 1 เมษายน 2008
28202 อามางาซากิ 1 เมษายน 2009 เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2009
28203 อากาชิ 1 เมษายน 2018 เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2018
นาระ 29201 นาระ 1 เมษายน 2002 ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
วากายามะ 30201 วากายามะ 1 เมษายน 1997 ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
ชูโงกุ ทตโตริ 31201 ทตโตริ 1 เมษายน 2018 ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด, เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2018
ชิมาเนะ 32201 มัตสึเอะ 1 เมษายน 2018 ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด, เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2018
โอกายามะ 33202 คูราชิกิ 1 เมษายน 2002
ฮิโรชิมะ 34207 ฟูกูยามะ 1 เมษายน 1998
34202 คูเระ 1 เมษายน 2016 เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2016
ยามางูจิ 35201 ชิโมโนเซกิ 1 ตุลาคม 2005 เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 30 กันยายน 2005
ชิโกกุ คางาวะ 37201 ทากามัตสึ 1 เมษายน 1999 ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
เอฮิเมะ 38201 มัตสึยามะ 1 เมษายน 2000 ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
โคจิ 39201 โคจิ 1 เมษายน 1998 ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
คีวชู ฟูกูโอกะ 40203 คูรูเมะ 1 เมษายน 2008 เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2008
นางาซากิ 42201 นางาซากิ 1 เมษายน 1997 ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
42202 ซาเซโบะ 1 เมษายน 2016 เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2016
โออิตะ 44201 โออิตะ 1 เมษายน 1997 ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
มิยาซากิ 45201 มิยาซากิ 1 เมษายน 1998 ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
คาโงชิมะ 46201 คาโงชิมะ 1 เมษายน 1996 ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด
โอกินาวะ 47201 นาฮะ 1 เมษายน 2013 ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด

นครศูนย์กลางในอดีต

[แก้]
ภูมิภาค จังหวัด ชื่อ ภาษาญี่ปุ่น วันที่แต่งตั้งเป็นนครศูนย์กลาง วันที่ยกฐานะเป็นนครใหญ่ที่รัฐกำหนด
คันโต คานางาวะ ซางามิฮาระ 相模原市 1 เมษายน 2003 1 เมษายน 2010
ชูบุ ชิซูโอกะ ฮามามัตสึ 浜松市 1 เมษายน 1996 1 เมษายน 2007
ชิซูโอกะ 静岡市 1 เมษายน 1996 1 เมษายน 2005
นีงาตะ นีงาตะ 新潟市 1 เมษายน 1996 1 เมษายน 2007
คันไซ โอซากะ ซาไก 堺市 1 เมษายน 1996 1 เมษายน 2006
ชูโงกุ โอกายามะ โอกายามะ 岡山市 1 เมษายน 1996 1 เมษายน 2009
คีวชู คูมาโมโตะ คูมาโมโตะ 熊本市 1 เมษายน 1996 1 เมษายน 2012

นครที่มีกำหนดจะยกฐานะเป็นนครศูนย์กลาง

[แก้]
ภูมิภาค จังหวัด ชื่อ ภาษาญี่ปุ่น วันที่กำหนดยกฐานะ
คันโต คานางาวะ ชิงาซากิ 茅ヶ崎市 1 เมษายน 2020
โอดาวาระ 小田原市 1 เมษายน 2020
อิบารากิ สึกูบะ つくば市 จะกำหนดภายหลัง
ไซตามะ โทโกโรซาวะ 所沢市 จะกำหนดภายหลัง
ชูบุ ชิซูโอกะ ฟูจิ 富士市 จะกำหนดภายหลัง
นางาโนะ มัตสึโมโตะ 松本市 1 เมษายน 2020
ไอจิ อิจิโนมิยะ 一宮市 2021 (ตั้งเป้าหมาย)
คันไซ โอซากะ คิชิวาดะ 岸和田市 1 เมษายน 2020
มิเอะ ยกกาอิจิ 四日市市 2020 (ตั้งเป้าหมาย)

นครที่ตรงตามข้อกำหนด แต่ยังไม่มีการเสนอชื่อ

[แก้]

นครต่อไปนี้มีประชากรมากกว่า 200,000 คน แต่ยังไม่มีการเสนอชื่อ (นครที่มีแผนขอยกฐานะเป็นนครศูนย์กลางจะไม่แสดงในรายชื่อนี้)

อ้างอิง

[แก้]
  1. Web-Japan.org, "Local self-government," p. 3; retrieved 2012-11-28.
  2. 日本財団図書館(電子図書館) Revised Local Autonomy Law. nippon.zaidan.info.
  3. 3.0 3.1 日本總務省 - 中核市・施行時特例市. soumo.go.jp (ภาษาญี่ปุ่น).
  4. 日本財団図書館(電子図書館) Revised Local Autonomy Law. nippon.zaidan.info.
  5. "総務省|地方公共団体の区分|中核市・施行時特例市". กระทรวงกิจการภายในและการสื่อสาร รัฐบาลญี่ปุ่น. สืบค้นเมื่อ 19 กรกฎาคม 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  6. 6.0 6.1 2018年(平成30年)10月1日現在の推計人口, 日本の市の人口順位も参照
  7. "新藤総務大臣閣議後記者会見の概要" (Press release). 総務省. 2013年11月26日. สืบค้นเมื่อ 2013年11月26日. {{cite press release}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  8. "大阪府枚方市を中核市指定=佐賀は特例市-政府". 時事通信. 2013年11月26日. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-12-04. สืบค้นเมื่อ 2013年11月26日. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]