จังหวัดมีซามิสโอกซีเดนตัล

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดมีซามิสโอกซีเดนตัล
จังหวัด
สนามกีฬากลางจังหวัดมีซามิสโอกซีเดนตัล
สนามกีฬากลางจังหวัดมีซามิสโอกซีเดนตัล
ธงของจังหวัดมีซามิสโอกซีเดนตัล
ธง
ตราอย่างเป็นทางการของจังหวัดมีซามิสโอกซีเดนตัล
ตรา
สมญา: 
Mis Occ
ที่ตั้งในประเทศฟิลิปปินส์
ที่ตั้งในประเทศฟิลิปปินส์
ประเทศ ฟิลิปปินส์
เขตฮีลากังมินดาเนา
ก่อตั้ง2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1929[1]
เมืองหลักโอโรคีเวตา
การปกครอง
 • ประเภทซังกูเนียงปันลาลาวีกัน
 • ผู้ว่าราชการจังหวัดHerminia M. Ramiro (NUP)
 • รองผู้ว่าราชการจังหวัดAurora Virginia M. Almonte (LP)
พื้นที่[2]
 • ทั้งหมด2,055.22 ตร.กม. (793.52 ตร.ไมล์)
อันดับพื้นที่60 จาก 81
ความสูงจุดสูงสุด (ภูเขามาลีนดังMalindang)2,404 เมตร (7,887 ฟุต)
ประชากร
 (ค.ศ. 2015)[3]
 • ทั้งหมด602,126 คน
 • อันดับ47 จาก 81
 • ความหนาแน่น290 คน/ตร.กม. (760 คน/ตร.ไมล์)
 • อันดับความหนาแน่น26 จาก 81
เขตการปกครอง
 • นคร
 • เทศบาล
 • บารังไกย์490
 • Districts1st and 2nd Districts of Misamis Occidental
เขตเวลาUTC+8 (PST)
รหัสไปรษณีย์7200–7215
ไอดีดี:รหัสโทรศัพท์+63 (0)88
รหัส ISO 3166PH
ภาษา
เว็บไซต์misocc.gov.ph

จังหวัดมีซามิสโอกซีเดนตัล (เซบัวโน: Kasadpang Misamis; Subanen: Sindepan Mis'samis) เป็นจังหวัดในเขตฮีลากังมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ มีเมืองศูนย์กลางคือโอโรคีเวตา ผู้ที่ตั้งถิ่นฐานตั้งแต่แรกเริ่มในจังหวัดนี้คือชาวซูบาโนน ซึ่งเป็นเป้าหมายของกลุ่มโจรสลัดจากจังหวัดลาเนา

ชื่อจังหวัด บ้างก็มีที่มาจากสถานที่ตั้งฐานของชาวสเปนที่อ่าวปังกีล บ้างก็เพี้ยนมาจากคำว่า คูยามิส ซึ่งเป็นชื่อชนิดของมะพร้าว[4]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Act No. 3537". Philippine Supreme Court e-Library. สืบค้นเมื่อ 20 October 2017.
  2. "List of Provinces". PSGC Interactive. Makati City, Philippines: National Statistical Coordination Board. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 January 2013. สืบค้นเมื่อ 10 July 2014.
  3. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-01-09. สืบค้นเมื่อ 2018-05-19.
  4. "Socio Economic: Brief History". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-08-31. สืบค้นเมื่อ 2010-06-10.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

แผนที่พิกัดทั้งหมดใน "Misamis Occidental" กำลังใช้ OpenStreetMap 
ดาวน์โหลดพิกัดเป็น KML