รียาด

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ริยาด)
รียาด

الرياض
รียาดตั้งอยู่ในซาอุดีอาระเบีย
รียาด
รียาด
Location of Riyadh
พิกัด: 24°38′N 46°43′E / 24.633°N 46.717°E / 24.633; 46.717พิกัดภูมิศาสตร์: 24°38′N 46°43′E / 24.633°N 46.717°E / 24.633; 46.717
ประเทศซาอุดีอาระเบีย
แคว้นรียาด
การปกครอง
 • MayorAbdullah bin Abdul Rahman Al Mogbel
 • Provincial EmirPrince Khaled bin Bandar Al Saud
พื้นที่
 • เขตเมือง1,000 ตร.กม. (400 ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล1,815 ตร.กม. (701 ตร.ไมล์)
ความสูง612 เมตร (2,008 ฟุต)
ประชากร
 (2010)
 • ตัวเมือง5,254,560 คน
 • ความหนาแน่น3,024 คน/ตร.กม. (7,833 คน/ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล6,800,000 คน
 Riyadh Development Authority estimate
เขตเวลาUTC+3 (EAT)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC+3 (EAT)
Postal Code(5 digits)
รหัสพื้นที่+966-1
เว็บไซต์www.arriyadh.com

รียาด[1] (อังกฤษ: Riyadh, ออกเสียง: /ˈriː.æd, riːˈjɑːd/; อาหรับ: الرياض‎, อักษรโรมัน: ar-Riyāḍ) เป็นเมืองหลวงของประเทศซาอุดีอาระเบีย อยู่ในแคว้นรียาด ตั้งอยู่ใจกลางคาบสมุทรอาระเบีย มีประชากร 4,260,000 คน (นับเป็น 20% ของประชากรทั้งหมดในประเทศ)

กรุงรียาดตั้งอยู่พิกัด 24°42'42" เหนือ 46°43'27" ตะวันออก ตัวเมืองแบ่งการปกครองเป็น 17 เขต โดยขึ้นกับเทศบาลเมืองรียาด

ถึงแม้รียาดจะตั้งอยู่ในบริเวณที่มีความแห้งแล้งมาก แต่ก็ยังมีฝนตกบ้างเป็นบางครั้ง การชลประทานมีเขื่อน 5 แห่งสำรองน้ำจืดไว้ใช้ยามขาดแคลน และมีการต่อท่อความยาว 467 กิโลเมตรเพื่อขนย้ายน้ำจืดจากโรงงานแปลงน้ำทะเลเป็นน้ำจืดริมอ่าวเปอร์เซีย

ที่มาของชื่อ[แก้]

ชื่อเมือง "รียาด" มาจากภาษาอาหรับคำว่า rawdah ซึ่งหมายถึงสถานที่ที่เต็มไปด้วยสวนและต้นไม้

ภูมิศาสตร์[แก้]

เมืองรียาดตั้งอยู่พิกัด 24°42'42" เหนือ 46°43'27" ตะวันออก ตัวเมืองแบ่งการปกครองเป็น 17 เขต โดยขึ้นกับเทศบาลเมืองรียาด

ภูมิอากาศ[แก้]

ข้อมูลภูมิอากาศของรียาด
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 31.5
(88.7)
34.8
(94.6)
38.0
(100.4)
42.0
(107.6)
45.1
(113.2)
47.0
(116.6)
48.0
(118.4)
47.8
(118)
44.5
(112.1)
41.0
(105.8)
36.0
(96.8)
31.0
(87.8)
48.0
(118.4)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 20.1
(68.2)
23.0
(73.4)
27.6
(81.7)
34.0
(93.2)
39.6
(103.3)
42.7
(108.9)
43.4
(110.1)
43.2
(109.8)
41.3
(106.3)
35.1
(95.2)
27.6
(81.7)
22.0
(71.6)
33.1
(91.6)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 14.4
(57.9)
16.9
(62.4)
21.1
(70)
26.9
(80.4)
32.9
(91.2)
35.4
(95.7)
36.6
(97.9)
36.5
(97.7)
33.3
(91.9)
28.2
(82.8)
21.4
(70.5)
16.1
(61)
26.6
(79.9)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 6.9
(44.4)
9.0
(48.2)
15.0
(59)
20.3
(68.5)
25.7
(78.3)
27.6
(81.7)
29.1
(84.4)
28.8
(83.8)
25.7
(78.3)
20.9
(69.6)
15.3
(59.5)
8.4
(47.1)
19.9
(67.8)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) -1
(30)
0.5
(32.9)
4.5
(40.1)
11.0
(51.8)
18.0
(64.4)
21
(70)
23.6
(74.5)
22.7
(72.9)
16.1
(61)
13.0
(55.4)
7.0
(44.6)
1.4
(34.5)
−1
(30)
ปริมาณฝน มม (นิ้ว) 11.7
(0.461)
8.5
(0.335)
24.7
(0.972)
22.3
(0.878)
4.6
(0.181)
0.0
(0)
0.0
(0)
0.2
(0.008)
0.0
(0)
1.7
(0.067)
7.9
(0.311)
13.0
(0.512)
94.6
(3.724)
ความชื้นร้อยละ 47 38 34 28 17 11 10 12 14 21 36 47 26
วันที่มีหยาดน้ำฟ้าโดยเฉลี่ย 5.8 4.8 9.8 10.0 3.5 0.0 0.2 0.2 0.0 1.2 3.4 6.3 45.2
แหล่งที่มา: [2]

อ้างอิง[แก้]

  1. ประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง. ลงวันที่ 14 มีนาคม 2561.
  2. "Surface annual climatological report". PME. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-25. สืบค้นเมื่อ 2009-08-17.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]