จังหวัดพิจิตรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดพิจิตรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

← พ.ศ. 2549 (โมฆะ) 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2554 →

4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ71.05%
  First party Second party Third party
 
รจท
พรรค ชาติไทย ประชาธิปัตย์ รวมใจไทยชาติพัฒนา
ที่นั่งก่อนหน้า 0 1 พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 2 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 Steady0 เพิ่มขึ้น1
คะแนนเสียง 30,639 104,896 24,140
% 11.74 40.20 9.25

  Fourth party
 
พรรค พลังประชาชน
ที่นั่งก่อนหน้า 0
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0
คะแนนเสียง 80,877
% 31.00

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

สุรยุทธ์ จุลานนท์
อิสระ (คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สมัคร สุนทรเวช
พลังประชาชน

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร พ.ศ. 2550 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง[1] มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 4 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2549 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน (รวมทั้งจังหวัดพิจิตร)[แก้]

พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
ชาติไทย 30,639 11.74% เพิ่มขึ้น9.94%
ประชาธิปัตย์ 104,896 40.20% เพิ่มขึ้น12.82%
รวมใจไทยชาติพัฒนา 24,140 9.25% เพิ่มขึ้น9.25%
พลังประชาชน 80,877 31.00% ลดลง25.22%
มหาชน ลดลง9.65%
อื่น ๆ 20,354 7.81% เพิ่มขึ้น0.93%
ผลรวม 260,906 100.00%
  • คะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนเปรียบเทียบจากผลคะแนนเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อเมื่อปี พ.ศ. 2548
  • คะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนพรรคพลังประชาชนเปรียบเทียบจากผลรวมคะแนนเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อของพรรคพลังประชาชน (เดิม) และพรรคไทยรักไทย
คะแนนเสียง
ชาติไทย
  
11.74%
ประชาธิปัตย์
  
40.20%
รวมใจไทยชาติพัฒนา
  
9.25%
พลังประชาชน
  
31.00%
อื่น ๆ
  
7.81%


ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

เขตการเลือกตั้ง ชาติไทย ประชาธิปัตย์ รวมใจไทยชาติพัฒนา พลังประชาชน อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง ส.ส.แบ่งเขต
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 2,222 1.66% 70,175 52.49% 20,189 15.10% 30,283 22.65% 10,812 8.10% 133,681 100.00% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
รวมใจไทยชาติพัฒนา ได้ที่นั่ง
เขต 2 28,417 22.34% 34,721 27.29% 3,951 3.11% 50,594 39.77% 9,542 7.49% 127,225 100.00% ชาติไทย ได้ที่นั่ง
ชาติไทย ได้ที่นั่ง
ผลรวม 30,639 11.74% 104,896 40.20% 24,140 9.25% 80,877 31.00% 20,354 7.81% 260,906 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดพิจิตร)[แก้]

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
ที่นั่ง
จน. +/– %
ชาติไทย 2 2 เพิ่มขึ้น2 50.00%
ประชาธิปัตย์ 2 1 Steady0 25.00%
รวมใจไทยชาติพัฒนา 2 1 เพิ่มขึ้น1 25.00%
ไทยรักไทย ลดลง2 0.00%
มหาชน ลดลง1 0.00%
อื่น ๆ 11 0 Steady 0.00%
ผลรวม 17 4 Steady 100.00%
ที่นั่ง
ชาติไทย
  
50.00%
ประชาธิปัตย์
  
25.00%
รวมใจไทยชาติพัฒนา
  
25.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

เขตการเลือกตั้ง ลำดับ คะแนนที่ได้รับ ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง %
เขต 1 1 95,774 70.48% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
2 77,430 56.98% รวมใจไทยชาติพัฒนา ได้ที่นั่ง
เขต 2 1 74,134 58.38% ชาติไทย ได้ที่นั่ง
2 67,971 53.39% ชาติไทย ได้ที่นั่ง

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน[แก้]

คะแนนรวมทั้งหมดในกลุ่มจังหวัดที่ 2[แก้]

กลุ่มจังหวัดที่ 2 ประกอบไปด้วยจังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดพิจิตร จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดลพบุรี จังหวัดนครสวรรค์ และจังหวัดอุทัยธานี ทั้งหมด 9 จังหวัด

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 2
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 237,357 6.34
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 121,143 3.24
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3)
ประชาธิปัตย์ (4) 1,251,995 33.45
พลังเกษตรกร (5)
รักเมืองไทย (6)
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8)
ประชาราช (9) 77,279 2.06
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 1,717,141 45.87
ชาติไทย (13) 188,473 5.03
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 66,627 1.78
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 25,417 0.68
ประชากรไทย (18)
ประชามติ (19) 18,752 0.50
ไทเป็นไท (20) 17,909 0.48
พลังแผ่นดินไท (21)
มหาชน (22)
คุณธรรม (23)
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 10,338 0.28
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29) 11,011 0.29
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31)
บัตรดี 3,743,442 91.35
บัตรเสีย 248,711 6.07
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 105,865 2.58
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 4,098,021 71.79
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 5,708,145 100.00

ผู้สมัครที่ได้รับการเลือกตั้งในกลุ่มจังหวัดที่ 2[แก้]

แต่ละกลุ่มจังหวัดมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกลุ่มละ 10 คน สำหรับกลุ่มจังหวัดที่ 2 แบ่งออกเป็นตามสัดส่วนคะแนนดังนี้

พรรคการเมือง รายชื่อผู้สมัคร
พรรคพลังประชาชน สันติ พร้อมพัฒน์
ชูศักดิ์ ศิรินิล
สุนัย จุลพงศธร
กฤษณา สีหลักษณ์
สุชน ชามพูนท
พรรคประชาธิปัตย์ ไพฑูรย์ แก้วทอง
มาลินี สุขเวชชวรกิจ
พุฒิพงศ์ สงวนวงศ์ชัย
พรรคเพื่อแผ่นดิน สมเกียรติ ศรลัมพ์
พรรคชาติไทย อัศวิน วิภูศิริ

คะแนนรวมเฉพาะจังหวัดพิจิตร[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน จังหวัดพิจิตร
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 11,141 4.27
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 24,140 9.25
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3)
ประชาธิปัตย์ (4) 104,896 40.20
พลังเกษตรกร (5)
รักเมืองไทย (6)
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8)
ประชาราช (9) 2,303 0.88
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 80,877 31.00
ชาติไทย (13) 30,639 11.74
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 2,412 0.92
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 1,305 0.50
ประชากรไทย (18)
ประชามติ (19) 1,221 0.47
ไทเป็นไท (20) 1,045 0.40
พลังแผ่นดินไท (21)
มหาชน (22)
คุณธรรม (23)
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 414 0.16
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29) 513 0.20
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31)
บัตรดี 260,906 91.47
บัตรเสีย 19,154 6.71
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 5,198 1.82
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 285,258 71.05
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 401,495 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองพิจิตร อำเภอสามง่าม อำเภอโพธิ์ประทับช้าง อำเภอวังทรายพูน อำเภอสากเหล็ก และอำเภอวชิรบารมี

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดพิจิตร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ นราพัฒน์ แก้วทอง (1)✔ 95,774 70.48
รวมใจไทยชาติพัฒนา วินัย ภัทรประสิทธิ์ (3) 77,430 56.98
พลังประชาชน สุณีย์ เหลืองวิจิตร (7)* 38,393 28.26
ประชาธิปัตย์ วราวุฒิ ประทุมขัน (2) 13,388 9.85
พลังประชาชน อภิณุ ศรีวนิชย์ (8) 9,549 7.03
รวมใจไทยชาติพัฒนา ชรินทร์ เลาวกุล (4) 6,365 4.68
มัชฌิมาธิปไตย อาดิษฐ์ กัลยาณมิตร (5) 3,087 2.27
มัชฌิมาธิปไตย ประเสริฐ ฉิมพาณิชย์ (6) 573 0.42
ไทยร่ำรวย ตาลตะวัน เต่าทอง (10) 319 0.23
ไทยร่ำรวย มนัสชพงศ์ เขมพัฒนชัย (9) 281 0.21
บัตรดี 135,880 93.66
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,364 2.32
บัตรเสีย 5,839 4.02
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 145,083 72.27
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 200,749 100.00
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
รวมใจไทยชาติพัฒนา ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบไปด้วยอำเภอตะพานหิน อำเภอบางมูลนาก อำเภอโพทะเล อำเภอทับคล้อ อำเภอดงเจริญ และอำเภอบึงนาราง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดพิจิตร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย ศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์ (2)* 74,134 58.38
ชาติไทย พลตรี สนั่น ขจรประศาสน์ (1)✔ 67,791 53.39
พลังประชาชน นาวิน บุญเสรฐ (5)✔ 54,970 43.29
พลังประชาชน ดุษฎี บัวเขียว (6) 21,587 17.00
มัชฌิมาธิปไตย สุรสิทธิ์ ฉัตรชัยเดช (3) 14,240 11.21
มัชฌิมาธิปไตย วานิช ขวัญใจรักษ์ (4) 4,038 3.18
ไทยร่ำรวย นิยม รัตนเจริญ (8) 411 0.32
บัตรดี 126,977 90.58
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,896 3.49
บัตรเสีย 8,312 5.93
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 140,185 69.83
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 200,746 100.00
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก มหาชน
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2550". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-06. สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]