จังหวัดมหาสารคามในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดมหาสารคามในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

← พ.ศ. 2549 (โมฆะ) 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2554 →

6 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ71.46%
  First party Second party
 
พรรค พลังประชาชน ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 0 0
ที่นั่งที่ชนะ 6 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น6 Steady0
คะแนนเสียง 324,356 64,939
% 70.87 14.19

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

สุรยุทธ์ จุลานนท์
อิสระ (คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สมัคร สุนทรเวช
พลังประชาชน

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2550 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง[1] มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 6 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2549 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน[แก้]

คะแนนรวมทั้งหมดในกลุ่มจังหวัดที่ 3[แก้]

กลุ่มจังหวัดที่ 3 ประกอบไปด้วยจังหวัดหนองคาย จังหวัดอุดรธานี จังหวัดเลย จังหวัดนครพนม จังหวัดสกลนคร จังหวัดหนองบัวลำภู จังหวัดกาฬสินธุ์ จังหวัดมุกดาหาร จังหวัดมหาสารคาม และจังหวัดอำนาจเจริญ จำนวน 10 จังหวัด

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 3
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 340,507 9.39
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 87,081 2.40
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3)
ประชาธิปัตย์ (4) 525,934 14.50
พลังเกษตรกร (5)
รักเมืองไทย (6)
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8) 35,670 0.98
ประชาราช (9) 52,310 1.44
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 2,398,849 66.16
ชาติไทย (13) 50,827 1.40
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 40,965 1.13
ชาติสามัคคี (16) 6,961 0.19
ความหวังใหม่ (17) 31,776 0.88
ประชากรไทย (18)
ประชามติ (19) 19,922 0.55
ไทเป็นไท (20) 25,873 0.71
พลังแผ่นดินไท (21)
มหาชน (22)
คุณธรรม (23)
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 9,305 0.26
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29)
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31)
บัตรดี 3,625,980 92.66
บัตรเสีย 205,499 5.25
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 81,877 2.09
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 3,913,357 71.10
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 5,504,061 100.00

ผู้สมัครที่ได้รับการเลือกตั้งในกลุ่มจังหวัดที่ 3[แก้]

แต่ละกลุ่มจังหวัดมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกลุ่มละ 10 คน สำหรับกลุ่มจังหวัดที่ 3 แบ่งออกเป็นตามสัดส่วนคะแนนดังนี้

พรรคการเมือง รายชื่อผู้สมัคร
พรรคพลังประชาชน ศรีเมือง เจริญศิริ
ชวลิต วิชยสุทธิ์
สุขุมพงศ์ โง่นคำ
ธนเทพ ทิมสุวรรณ
กิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์
เทวฤทธิ์ นิกรเทศ
วีระ รักความสุข
พรรคประชาธิปัตย์ สุทัศน์ เงินหมื่น
รัชฎาภรณ์ แก้วสนิท
พรรคเพื่อแผ่นดิน พลตำรวจเอก ประชา พรหมนอก

คะแนนรวมเฉพาะจังหวัดมหาสารคาม[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน จังหวัดมหาสารคาม
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 34,017 7.43
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 6,442 1.41
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3)
ประชาธิปัตย์ (4) 64,939 14.19
พลังเกษตรกร (5)
รักเมืองไทย (6)
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8) 2,348 0.51
ประชาราช (9) 4,212 0.92
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 324,356 70.87
ชาติไทย (13) 7,381 1.61
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 2,721 0.59
ชาติสามัคคี (16) 366 0.08
ความหวังใหม่ (17) 2,466 0.54
ประชากรไทย (18)
ประชามติ (19) 4,534 0.99
ไทเป็นไท (20) 2,767 0.60
พลังแผ่นดินไท (21)
มหาชน (22)
คุณธรรม (23)
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 1,118 0.24
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29)
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31)
บัตรดี 457,667 94.11
บัตรเสีย 20,490 4.21
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 8,158 1.68
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 486,315 71.46
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 680,568 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองมหาสารคาม อำเภอโกสุมพิสัย อำเภอกันทรวิชัย อำเภอเชียงยืน อำเภอกุดรัง และอำเภอชื่นชม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดมหาสารคาม
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชาชน สุทิน คลังแสง (19)** 134,365 56.35
พลังประชาชน จิรวัฒน์ ศิริพานิชย์ (21) 122,088 51.20
พลังประชาชน สุรจิตร ยนต์ตระกูล (20) 119,052 49.93
เพื่อแผ่นดิน คมคาย อุดรพิมพ์ (12) 69,455 29.13
เพื่อแผ่นดิน กุสุมาลวตี ศิริโกมุท (11)* 41,251 17.30
มัชฌิมาธิปไตย นภาพร พลโคตร (13) 34,323 14.39
เพื่อแผ่นดิน กริช กงเพชร (10)* 28,219 11.83
ประชาราช อภิราช บรรณารักษ์ (18) 22,094 9.27
รวมใจไทยชาติพัฒนา มาโนช เชาวรัตน์ (1)✔ 13,417 5.63
ประชาธิปัตย์ เชวงศักดิ์ พลลาภ (7) 11,511 4.83
ประชาธิปัตย์ วารินทร์ โคตรศรีวงษ์ (9) 10,032 4.21
ประชาธิปัตย์ สุวิทย์ บุตรโคตร (8) 8,474 3.55
ประชากรไทย กัลยาณี ชลมณี (22) 4,137 1.73
มัชฌิมาธิปไตย อัตถพงษ์ จันทรเจริญ (14) 3,730 1.56
ความหวังใหม่ พัชราศิณี ศิริโกมุท (4) 3,026 1.27
รวมใจไทยชาติพัฒนา คะนองฤทธิ์ อนุฤทธิ์ (3) 3,008 1.26
รวมใจไทยชาติพัฒนา ชัยสิทธิ์ อัตถากร (2) 2,405 1.01
มัชฌิมาธิปไตย เลอสรรค์ สิทธิด่าง (15) 2,111 0.89
ประชาราช วชิระ ภักดีสุวรรณ (17) 1,600 0.67
ความหวังใหม่ วัฒนา ศิริโยธา (5) 1,557 0.65
ประชาราช ทวีทรัพย์ งามสมัย (16) 1,534 0.64
ประชากรไทย ชัยยงค์ วงศ์ประกอบ (23) 1,263 0.53
ความหวังใหม่ เกศสุดา สิมลา (6) 1,215 0.51
สังคมไท ธนพล ซามาตย์ (29) 815 0.34
นำวิถี มาณิศ พิมพ์ดี (34) 726 0.30
ประชามติ สมหมาย ฮามคำไพ (26) 703 0.29
ประชามติ ยุทธพล ศรีมุงคุณ (25)✔ 588 0.25
ประชากรไทย ไพบูลย์ ไชยโวหาร (24) 569 0.24
ไทยร่ำรวย สุมนา โพชารี (31) 542 0.23
สังคมไท ปพัชสรณ์ พลภูวษิตย์ (28) 448 0.19
สังคมไท บันดาล แสนวา (30) 398 0.17
ประชามติ ชรี วารีศรี (27) 391 0.16
สยามสันติ สด ช่างยันต์ (39) 385 0.16
ไทยร่ำรวย สมประสงค์ แก้วบุดดา (33) 377 0.16
นำวิถี จรัส ชูคันหอม (35) 292 0.12
สยามสันติ บรรเทิง รัตนวงษา (37) 264 0.11
สยามสันติ สมพร จอมคำสิงห์ (38) 256 0.11
ไทยร่ำรวย ประเสริฐ พิกุลทิพย์สาคร (32) 246 0.10
นำวิถี จินดา วิริยะ (36) 167 0.07
บัตรดี 238,452 95.06
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 9,300 3.71
บัตรเสีย 3,087 1.23
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 250,839 73.53
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 341,132 100.00
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบไปด้วยอำเภอวาปีปทุม อำเภอบรบือ อำเภอนาเชือก อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย อำเภอนาดูน อำเภอแกดำ และอำเภอยางสีสุราช

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดมหาสารคาม
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชาชน สรรพภัญญู ศิริไปล์ (12) 103,169 45.06
พลังประชาชน สุชาติ โชคชัยวัฒนากร (10)* 91,479 39.96
พลังประชาชน ไชยวัฒน์ ติณรัตน์ (11)** 88,723 38.75
เพื่อแผ่นดิน ชาญชัย ชัยรุ่งเรือง (13)* 71,640 31.29
รวมใจไทยชาติพัฒนา สุชาติ ศรีสังข์ (7)* 57,346 25.05
ประชาธิปัตย์ ยุทธพงศ์ จรัสเสถียร (19)✔ 56,071 24.49
ประชาธิปัตย์ ภูมิไถง ปะติเส (20) 18,376 8.03
ชาติไทย ณรงศักดิ์ ประสาระเอ (4) 13,108 5.73
ประชาราช ประจิตย์ ดาวเรือง (1) 8,732 3.81
ประชาธิปัตย์ นันทพงศ์ วนาทรัพย์ดำรง (21) 8,510 3.72
รวมใจไทยชาติพัฒนา ภัทธพร ชาวกะตา (9) 4,945 2.16
เพื่อแผ่นดิน อดิศร ธิวงศ์ (14) 4,613 2.01
มัชฌิมาธิปไตย มยุรา อุรเคนทร์ (16)✔ 3,820 1.67
รวมใจไทยชาติพัฒนา พนารักษ์ วรรณปะเก (8) 3,287 1.44
เพื่อแผ่นดิน ดาบตำรวจ สุวิทย์ ทับผา (15) 2,331 1.02
มัชฌิมาธิปไตย สุเนตร สารสิทธิ์ (17) 2,169 0.95
มัชฌิมาธิปไตย ธรรมนูญ โสภารัตน์ (18) 2,042 0.89
ประชาราช ชัยพิบูล ไชยชาติ (3) 1,919 0.84
ชาติไทย ประสาทพร แหวนวิเศษ (6) 1,677 0.73
ประชาราช นิพนธ์ วงศ์พัฒน์ (2) 1,595 0.70
ชาติไทย ทองสุข ทุมมี (5) 1,455 0.64
ความหวังใหม่ สมนึก วงศ์หนองแวง (24) 1,184 0.52
ประชามติ โกมล แพนพา (27) 1,055 0.46
ความหวังใหม่ สันต์ เพียรอดวงษ์ (22) 916 0.40
ประชากรไทย ยอด ปทุมพร (29) 896 0.39
ไทเป็นไท จักรภพ มานุ (34) 831 0.36
ความหวังใหม่ เตชสิทธิ์ พิมล (23) 617 0.27
ประชามติ ภัทชภณ ปะโกสันตัง (25) 605 0.26
ไทยร่ำรวย แหลมคม ปะติตานัง (31) 575 0.25
ประชามติ ชาตรี ระดมชัย (26) 548 0.24
ไทเป็นไท ดิฏฐพงษ์ จันทะศร (35) 473 0.21
ไทเป็นไท ประสงค์ อุทัยประดิษฐ์ (36) 415 0.18
ประชากรไทย เสน่ห์ ภักดีพันดอน (30) 410 0.18
ไทยร่ำรวย สมร ชุมพล (33) 323 0.14
สยามสันติ สมนึก ขจัดโรคา (39) 233 0.10
ไทยร่ำรวย อินทุการ ล้ำเหลือ (32) 227 0.10
ประชากรไทย จำรัส จันทร์เปล่ง (28) 211 0.09
สยามสันติ ชยกร สมศิลา (38) 199 0.09
สยามสันติ จริยา นนทวงศ์ (37) 149 0.07
บัตรดี 228,954 97.23
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,152 1.76
บัตรเสีย 2,371 1.01
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 235,477 69.37
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 339,436 100.00
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2550". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-06. สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]