จังหวัดนครสวรรค์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดนครสวรรค์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

← พ.ศ. 2549 (โมฆะ) 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2554 →

7 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ73.00%
  First party Second party Third party
 
พรรค ประชาธิปัตย์ ชาติไทย พลังประชาชน
ที่นั่งก่อนหน้า 0 0 0
ที่นั่งที่ชนะ 2 2 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 เพิ่มขึ้น2 เพิ่มขึ้น1
คะแนนเสียง 217,140 31,021 167,021
% 42.44 6.06 32.64

  Fourth party Fifth party
 
มฌ
พรรค มัชฌิมาธิปไตย ประชาราช
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1
คะแนนเสียง 24,777 13,865
% 4.84 2.71

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

สุรยุทธ์ จุลานนท์
อิสระ (คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สมัคร สุนทรเวช
พลังประชาชน

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ พ.ศ. 2550 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง[1] มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 7 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2549 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2 และ 3)

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน[แก้]

คะแนนรวมทั้งหมดในกลุ่มจังหวัดที่ 2[แก้]

กลุ่มจังหวัดที่ 2 ประกอบไปด้วยจังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดพิจิตร จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดลพบุรี จังหวัดนครสวรรค์ และจังหวัดอุทัยธานี ทั้งหมด 9 จังหวัด

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 2
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 237,357 6.34
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 121,143 3.24
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3)
ประชาธิปัตย์ (4) 1,251,995 33.45
พลังเกษตรกร (5)
รักเมืองไทย (6)
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8)
ประชาราช (9) 77,279 2.06
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 1,717,141 45.87
ชาติไทย (13) 188,473 5.03
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 66,627 1.78
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 25,417 0.68
ประชากรไทย (18)
ประชามติ (19) 18,752 0.50
ไทเป็นไท (20) 17,909 0.48
พลังแผ่นดินไท (21)
มหาชน (22)
คุณธรรม (23)
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 10,338 0.28
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29) 11,011 0.29
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31)
บัตรดี 3,743,442 91.35
บัตรเสีย 248,711 6.07
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 105,865 2.58
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 4,098,021 71.79
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 5,708,145 100.00

ผู้สมัครที่ได้รับการเลือกตั้งในกลุ่มจังหวัดที่ 2[แก้]

แต่ละกลุ่มจังหวัดมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกลุ่มละ 10 คน สำหรับกลุ่มจังหวัดที่ 2 แบ่งออกเป็นตามสัดส่วนคะแนนดังนี้

พรรคการเมือง รายชื่อผู้สมัคร
พรรคพลังประชาชน สันติ พร้อมพัฒน์
ชูศักดิ์ ศิรินิล
สุนัย จุลพงศธร
กฤษณา สีหลักษณ์
สุชน ชามพูนท
พรรคประชาธิปัตย์ ไพฑูรย์ แก้วทอง
มาลินี สุขเวชชวรกิจ
พุฒิพงศ์ สงวนวงศ์ชัย
พรรคเพื่อแผ่นดิน สมเกียรติ ศรลัมพ์
พรรคชาติไทย อัศวิน วิภูศิริ

คะแนนรวมเฉพาะจังหวัดนครสวรรค์[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน จังหวัดนครสวรรค์
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 18,238 3.56
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 27,961 5.46
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3)
ประชาธิปัตย์ (4) 217,140 42.44
พลังเกษตรกร (5)
รักเมืองไทย (6)
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8)
ประชาราช (9) 13,865 2.71
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 167,021 32.64
ชาติไทย (13) 31,021 6.06
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 24,777 4.84
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 2,933 0.57
ประชากรไทย (18)
ประชามติ (19) 3,309 0.65
ไทเป็นไท (20) 2,434 0.48
พลังแผ่นดินไท (21)
มหาชน (22)
คุณธรรม (23)
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 1,846 0.36
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29) 1,129 0.22
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31)
บัตรดี 511,674 90.94
บัตรเสีย 37,212 6.61
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 13,768 2.45
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 562,654 73.00
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 770,766 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองนครสวรรค์ อำเภอพยุหะคีรี อำเภอท่าตะโก อำเภอโกรกพระ และอำเภอชุมแสง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดนครสวรรค์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สมควร โอบอ้อม (10)✔ 73,444 31.02
ประชาธิปัตย์ สงกรานต์ จิตสุทธิภากร (11) 63,548 26.84
ประชาราช สมชัย เจริญชัยฤทธิ์ (15)* 58,877 24.87
ชาติไทย ทรงศักดิ์ ส่งเสริมอุดมชัย (16) 57,736 24.39
รวมใจไทยชาติพัฒนา เกษม ปานอุดมลักษณ์ (9)* 57,508 24.29
รวมใจไทยชาติพัฒนา ภิญโญ นิโรจน์ (7)** 55,895 23.61
ประชาราช ดาบตำรวจ จำเริญ วรทอง (13) 48,367 20.43
รวมใจไทยชาติพัฒนา ดิสทัต คำประกอบ (8) 45,847 19.37
ประชาธิปัตย์ สัญญพงษ์ จิระธนประเสริฐ (12) 45,191 19.09
พลังประชาชน เผด็จ ชวนานนท์ (19) 25,453 10.75
พลังประชาชน ธนรัชต์ วิเชียรรัตน์ (20) 25,171 10.63
มัชฌิมาธิปไตย ประสิทธิ์ พิทูรกิจจา (1)✔ 22,645 9.57
พลังประชาชน วิชัย ทองทรงกฤษณ์ (21) 21,084 8.91
ประชามติ ปัญญา คล้ายแจ้ง (4) 6,932 2.93
ประชาราช นำพล กันทะวงศ์ (14) 3,447 1.46
ชาติไทย ร้อยตำรวจโท สุรัตน์ชัย เฉลยคาม (17) 3,428 1.45
ชาติไทย ร้อยตำรวจตรี สันติ อินทร์ไทยวงศ์ (18) 2,743 1.16
มัชฌิมาธิปไตย ภพ ทองเปลว (3) 2,507 1.06
ประชามติ วชิรธร ศรีสินทนุ (6) 2,243 0.95
พลังเกษตรกร อารมย์ จำนงค์ไว (22) 1,171 0.49
พลังเกษตรกร เลื่อน พุ่มมาลา (23) 785 0.33
ไทยร่ำรวย จีรนันท์ คุ้มสอาด (25) 764 0.32
ไทยร่ำรวย จ่าสิบเอก ยรรยง ศรีไพร (26) 682 0.29
พลังเกษตรกร อารีย์ ปานพรม (24) 627 0.26
ไทยร่ำรวย อานันต์ ทิวาลัย (27) 541 0.23
บัตรดี 236,748 92.90
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 10,887 4.27
บัตรเสีย 7,218 2.83
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 254,853 74.22
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 343,361 100.00
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
ประชาราช ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบไปด้วยอำเภอบรรพตพิสัย อำเภอลาดยาว อำเภอเก้าเลี้ยว อำเภอแม่วงก์ อำเภอแม่เปิน และอำเภอชุมตาบง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดนครสวรรค์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย นิโรธ สุนทรเลขา (5)* 61,119 41.70
พลังประชาชน สัญชัย วงษ์สุนทร (1)* 55,925 38.15
ชาติไทย สุภัตรา วิมลสมบัติ (6) 53,530 36.52
รวมใจไทยชาติพัฒนา ประสาท ตันประเสริฐ (11)✔ 49,935 34.07
ประชาธิปัตย์ สำรอง เยี่ยงยงค์ (9) 12,532 8.55
พลังประชาชน บรรจบ นิลเนตร์ (2) 10,118 6.90
ประชาธิปัตย์ ล้อมเดช ซ่อนกลิ่น (10) 9,135 6.23
รวมใจไทยชาติพัฒนา วิรุฬห์ บำรุงสรณ์ (12) 5,293 3.61
ประชาราช จิรพันธุ์ ไกรศรี (4) 4,391 3.00
ประชาราช ประสงค์ อินทร์ขุน (3) 1,344 0.92
เพื่อแผ่นดิน ปริญญา มาลัยทอง (15) 1,253 0.85
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย วัชรพงศ์ ชำนาญเวช (13) 1,081 0.74
มัชฌิมาธิปไตย ดาบตำรวจ ธงชัย วจีสัจจะ (7) 954 0.65
มัชฌิมาธิปไตย ชง อยู่พุ่ม (8) 652 0.44
เพื่อแผ่นดิน นพสิทธิ์ ฉัตรมณีจิรสิน (16) 533 0.36
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย วิรัตน์ เปี่ยมเสถียร (14) 347 0.24
ไทยร่ำรวย แตง อุทิศธรรมสกุล (18) 251 0.17
ไทยร่ำรวย จารุชา วินิจสร (17) 234 0.16
บัตรดี 146,576 93.98
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,624 2.32
บัตรเสีย 5,770 3.70
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 155,970 72.39
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 215,448 100.00
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

เขตเลือกตั้งที่ 3[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบไปด้วยอำเภอหนองบัว อำเภอไพศาลี อำเภอตากฟ้า และอำเภอตาคลี

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดนครสวรรค์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย พีระเดช ศิริวันสาณฑ์ (3) 68,384 48.50
มัชฌิมาธิปไตย พันตำรวจตรี นุกูล แสงศิริ (7) 48,165 34.16
พลังประชาชน พรพิศิษฐ์ แจ่มใส (1) 36,123 25.62
มัชฌิมาธิปไตย เมธี ฉัตรจินดารัตน์ (8)* 31,373 22.25
ประชาธิปัตย์ สมชาย เพ็ชรจินดา (9) 22,387 15.88
ประชาธิปัตย์ พัชรีรัตน์ ภัทรธีรทิพย์ (10) 17,461 12.38
พลังประชาชน อุปถัมภ์ อินสุธา (2) 12,013 8.52
ชาติไทย จักรภัทร วงษ์วานิชย์ (4) 4,983 3.53
รวมใจไทยชาติพัฒนา ชาญ สร้อยจำปา (12) 3,717 2.64
พรรคพลังเกษตรกร กุหลาบ ขุนเกลี้ยง (15) 2,526 1.79
ไทเป็นไท ตุลยากร แย้มสอาด (13) 1,646 1.17
ประชามติ ณรงค์ชัย สายหยุด (5) 1,096 0.78
รวมใจไทยชาติพัฒนา ชัยรัตน์ ศุภวารี (11) 1,051 0.75
ประชามติ ปสาน ศักดิ์ทอง (6) 852 0.60
ไทยร่ำรวย เสาวณีย์ มีแสง (17) 697 0.49
ไทเป็นไท ณฐมน แย้มสอาด (14) 441 0.31
ไทยร่ำรวย สุเชต วรพงษ์ (18) 352 0.25
พรรคพลังเกษตรกร ประจวบ ยอดย้อย (16) 319 0.23
บัตรดี 140,998 92.87
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,946 3.26
บัตรเสีย 5,882 3.87
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 151,826 71.63
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 211,957 100.00
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
มัชฌิมาธิปไตย ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2550". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-06. สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]