จังหวัดพิจิตรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดพิจิตรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

← พ.ศ. 2557 (โมฆะ) 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2566 →

3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน430,402
ผู้ใช้สิทธิ70.71%
  First party Second party Third party
 
พรรค พลังประชารัฐ ภูมิใจไทย อนาคตใหม่
เลือกตั้งล่าสุด พรรคใหม่ 0 พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 3 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น3 Steady Steady
คะแนนเสียง 76,572 57,936 54,560
% 27.88 21.10 19.87

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
พรรค เสรีรวมไทย ประชาธิปัตย์ ชาติไทยพัฒนา
เลือกตั้งล่าสุด พรรคใหม่ 1 2
ที่นั่งที่ชนะ 0 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน Steady ลดลง1 ลดลง2
คะแนนเสียง 34,061 23,875 4,907
% 12.40 8.69 1.79

ผลการเลือกตั้งตามส่วนต่างคะแนนเสียงเป็นร้อยละ
  •   พรรคพลังประชารัฐ

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ประยุทธ์ จันทร์โอชา
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ประยุทธ์ จันทร์โอชา
อิสระ (พลังประชารัฐ)

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 ในจังหวัดพิจิตร กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง โดยแต่ละเขตจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเขตละ 1 คน

ภาพรวม[แก้]

แบ่งตามพรรค[แก้]

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
พลังประชารัฐ 3 76,572 27.88% 3 เพิ่มขึ้น3 100.00%
ภูมิใจไทย 3 57,936 21.10% 0 Steady 0.00%
อนาคตใหม่ 3 54,560 19.87% 0 Steady 0.00%
เสรีรวมไทย 3 34,061 12.40% 0 Steady 0.00%
ประชาธิปัตย์ 3 23,875 8.69% 0 ลดลง1 0.00%
ชาติไทยพัฒนา 2 4,907 1.79% 0 ลดลง2 0.00%
อื่น ๆ 70 22,717 8.27% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 87 274,628 100.00% 3 Steady 100.00%
คะแนนเสียง
พลังประชารัฐ
  
27.88%
ภูมิใจไทย
  
21.10%
อนาคตใหม่
  
19.87%
เสรีรวมไทย
  
12.40%
ประชาธิปัตย์
  
8.69%
ชาติไทยพัฒนา
  
1.79%
อื่น ๆ
  
8.27%
ที่นั่ง
พลังประชารัฐ
  
100.00%

เทียบคะแนนกับการเลือกตั้งครั้งก่อนหน้า[แก้]

เปรียบเทียบคะแนนกับผลการเลือกตั้งเมื่อ พ.ศ. 2554

เทียบคะแนนจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ พ.ศ. 2554[แก้]

พรรค ปี 2554 ปี 2562 +/–
จน. % จน. %
พลังประชารัฐ 76,572 27.88% เพิ่มขึ้น27.88%
ภูมิใจไทย 3,425 1.26% 57,936 21.10% เพิ่มขึ้น19.84%
อนาคตใหม่ 54,560 19.87% เพิ่มขึ้น19.87%
เสรีรวมไทย 34,061 12.40% เพิ่มขึ้น38.34%
ประชาธิปัตย์ 92,087 33.77% 23,875 8.69% ลดลง25.08%
ชาติไทยพัฒนา 55,763 20.45% 4,907 1.79% ลดลง18.66%
เพื่อไทย 104,544 38.34% ลดลง38.34%
อื่น ๆ 16,859 6.18% 56,778 20.67% เพิ่มขึ้น14.49%
ผลรวม 272,678 100.00% 274,628 100.00%

เทียบคะแนนจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต พ.ศ. 2554[แก้]

พรรค ปี 2554 ปี 2562 +/–
จน. % จน. %
พลังประชารัฐ 76,572 27.88% เพิ่มขึ้น27.88%
ภูมิใจไทย 57,936 21.10% เพิ่มขึ้น21.10%
อนาคตใหม่ 54,560 19.87% เพิ่มขึ้น19.87%
เสรีรวมไทย 34,061 12.40% เพิ่มขึ้น38.34%
ประชาธิปัตย์ 76,208 28.85% 23,875 8.69% ลดลง20.16%
ชาติไทยพัฒนา 85,517 32.37% 4,907 1.79% ลดลง30.58%
เพื่อไทย 101,356 38.36% ลดลง38.36%
อื่น ๆ 862 0.33% 56,778 20.67% เพิ่มขึ้น20.34%
ผลรวม 264,193 100.00% 274,628 100.00%

แบ่งตามเขต[แก้]

เขตเลือกตั้ง พลังประชารัฐ ภูมิใจไทย อนาคตใหม่ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 24,781 26.20% 11,580 12.24% 18,947 20.03% 39,263 41.53% 94,571 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 2 21,466 24.78% 16,821 19.42% 18,845 21.76% 29,482 34.04% 86,614 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 3 30,325 32.45% 29,535 31.61% 16,768 17.94% 16,815 18.00% 93,443 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
ผลรวม 76,572 27.88% 57,936 21.10% 54,560 19.87% 85,560 31.15% 274,628 100.00%

ผลการเลือกตั้ง[แก้]

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วย อำเภอเมืองพิจิตร อำเภอสามง่ามและอำเภอวชิรบารมี

ทั้งนี้ หลังจากที่ผู้ได้รับเลือกตั้ง นายพรชัย อินทร์สุข ถูกขับออกจากพรรคพลังประชารัฐ เมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2565 ได้ย้ายเข้าสังกัดพรรคเศรษฐกิจไทยในเวลาต่อมา [1] และคาดว่าถูกขับออกจากพรรคหลังจากพบว่ากลับมาเป็นสมาชิกพรรคพลังประชารัฐอีกครั้งหนึ่ง[2]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดพิจิตร เขต 1
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ พรชัย อินทร์สุข (1) 24,781 26.20
เสรีรวมไทย จักรพงศ์ บุบผา (16) 20,375 21.54
อนาคตใหม่ ศุภสิทธิ์ ศิริเศรษฐ์ (4) 18,947 20.03
ประชาธิปัตย์ อาวุธ เดชอุปการ (3) 11,983 12.67
ภูมิใจไทย อาดิษฐ์ กัลยาณมิตร (10) 11,580 12.24
เศรษฐกิจใหม่ อุสา บุตรเพ็ชร (17) 939 0.99
พลังชาติไทย ปตินันท์ ศรีพงษ์ (21) 876 0.93
เพื่อชาติ นรินทร์ บุญวงศ์ (8) 788 0.83
เพื่อแผ่นดิน สุปราณี ป้อมสมบูรณ์ (15) 611 0.65
พลังไทยรักไทย สายหยุด วัสสะ (23) 499 0.53
เพื่อสหกรณ์ไทย เชาวลิต ประการเพชร (25) 346 0.37
รวมพลังประชาชาติไทย วิบูลย์ เพ็ชรรัตน์ (6) 336 0.36
พลังครูไทย สุรัตนา คำหนู (24) 314 0.33
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย จำเนียร เปี่ยมบุญ (9) 306 0.32
พลังปวงชนไทย นรเศรษฐ์ ทรัพย์ประวัติ (11) 280 0.30
ครูไทยเพื่อประชาชน สุมิตร การเที่ยง (5) 270 0.29
ฐานรากไทย กอบกุล ภักดีโต (26) 220 0.23
พลังประชาธิปไตย วรรณา ผลาผล (28) 196 0.21
พลังท้องถิ่นไท ปัญจวิชญ์ บุสดี (13) 190 0.20
ประชานิยม ณัฐนารี ไวธัญกรรม (2) 189 0.20
ประชาภิวัฒน์ จริยวัตร สกุลพรเจริญ (14) 181 0.19
ประชาชาติ กาญจนา จันทรมณี (7) 159 0.17
ภราดรภาพ ฐิติพันธ์ บางใหญ่ (20) 61 0.06
ประชาชนปฏิรูป เดชา คุ้มแก้ว (19) 56 0.06
ไทรักธรรม ทองคำ วงสุวรรณ์ (27) 51 0.05
พลังสังคม ชื่นชม ฟักสนิท (22) 37 0.04
ไทยรักษาชาติ วินัย ภัทรประสิทธิ์ (12)*†
เพื่อนไทย คะแนน เนตรอิ่ม (18)†
ผลรวม 94,571 100.00
บัตรดี 94,571 90.37
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,616 1.54
บัตรเสีย 8,461 8.09
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 104,648 72.11
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 145,126 100.00
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 2[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วย อำเภอสากเหล็ก อำเภอวังทรายพูน,อำเภอตะพานหิน อำเภอทับคล้อและอำเภอดงเจริญ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดพิจิตร เขต 2
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ ภูดิท อินสุวรรณ์ (6) 21,466 24.78
อนาคตใหม่ ดุษฎี บัวเขียว (14) 18,845 21.76
ภูมิใจไทย ไพโรจน์ เนตรแสง (4) 16,821 19.42
เสรีรวมไทย ชนกฤติ โหมอ่อน (13) 10,464 12.08
ประชาธิปัตย์ บุญชอบ สากูต (15) 5,651 6.52
ชาติไทยพัฒนา ณริยา บุญเสรฐ (3) 4,469 5.16
เพื่อชาติ พันตำรวจโท จำลอง งามลำยวง (8) 1,545 1.78
เศรษฐกิจใหม่ วัฒนะ เฉื่อยฉ่ำ (20) 952 1.10
พลังปวงชนไทย สมชาย หมอนเมือง (11) 932 1.08
พลังชาติไทย ประสิทธิ์ สาทะ (24) 678 0.78
พลังไทยรักไทย พันตำรวจโท สรวิชญ์ เถาลอย (29) 575 0.66
พลังสังคม ณัฎฐกา งามสม (26) 494 0.57
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย สังเวียน พาลีตา (5) 451 0.52
ประชาชาติ ศิริโชค เอี่ยมมี (1) 399 0.46
ประชาธิปไตยใหม่ ภัทรชัย กำคำเพ็ชร (12) 337 0.39
เพื่อแผ่นดิน ธานี มั่นทรัพย์ (16) 327 0.38
พลังท้องถิ่นไท สมบุญ สังข์ทอง (17) 324 0.37
รวมพลังประชาชาติไทย เกศกมล ทองดอนน้อย (10) 232 0.27
ประชานิยม ญาณศรณ์ แถวบุญตา (2) 223 0.26
ประชาภิวัฒน์ จักรภฤต บรรเจิดกิจ (22) 200 0.23
ฐานรากไทย ภาณุวรรษ ไกรเกื้อกูล (31) 196 0.23
ครูไทยเพื่อประชาชน สิริกาญจน์ ภมรกูล (23) 170 0.20
ไทยศรีวิไลย์ สงัด แตงเหล็ก (19) 162 0.19
ภราดรภาพ สมพิศ ป้อมฤทธิ์ (21) 154 0.18
ประชาชนปฏิรูป กิตติศักดิ์ หมอนเมือง (9) 153 0.18
เพื่อสหกรณ์ไทย อัครวินท์ เกษวิริยะการ (28) 146 0.17
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย จิ๋ว งอนไทยสงค์ (25) 139 0.16
พลังครูไทย ปิยพงศ์ เปี่ยมงาม (27) 80 0.09
ไทรักธรรม ลำยวง น่วมด้วง (30) 29 0.03
ไทยรักษาชาติ ปุณยวัจน์ เหลืองวิจิตร (7)†
เพื่อนไทย นาริต เที่ยงธรรม (18)†
ผลรวม 86,614 100.00
บัตรดี 86,614 89.33
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,344 1.38
บัตรเสีย 9,007 9.29
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 96,965 67.70
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 143,219 100.00
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก ชาติไทยพัฒนา

เขต 3[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วย อำเภอบางมูลนาก อำเภอโพทะเล,อำเภอบึงนารางและอำเภอโพธิ์ประทับช้าง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดพิจิตร เขต 3
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ สุรชาติ ศรีบุศกร (5) 30,325 32.45
ภูมิใจไทย วิชัย ด่านรุ่งโรจน์ (2) 29,535 31.61
อนาคตใหม่ พัชรี ขอจิตต์ (10) 16,768 17.94
ประชาธิปัตย์ ณรงค์ จักขุจันทร์ (4) 6,241 6.68
เสรีรวมไทย พันเอก มนู ชูจิตร (3) 3,222 3.45
พลังท้องถิ่นไท มานะ วุฑฒยากร (1) 1,875 2.01
เพื่อชาติ พันตำรวจโท ฐณพล อริวรรณา (12) 744 0.80
เศรษฐกิจใหม่ วรวลัญช์ น้อยดี (16) 699 0.75
ประชาชนปฏิรูป ธวัชชัย คมขำ (22) 627 0.67
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย อำนวย พรมโคตร (25) 602 0.64
ชาติไทยพัฒนา ปราโมทย์ ชมประเสริฐ (14) 438 0.47
ประชาชาติ ไพบูลย์ นาคสุข (7) 296 0.32
รวมพลังประชาชาติไทย สาทิพ ดิษทับ (9) 248 0.27
พลังสังคม วันชัย งามสม (24) 243 0.26
ประชานิยม ชนัดดา อนุฤทธิ์ (6) 238 0.25
พลังไทยรักไทย ร้อยตำรวจโท สมชาย พิมพ์สอน (27) 193 0.21
ครูไทยเพื่อประชาชน ภาษิต แสงจำนงค์ (11) 158 0.17
ไทยศรีวิไลย์ ชาตรี กลิ่นหอม (18) 144 0.15
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย กำไร ทั่งถิ่น (15) 137 0.15
พลังชาติไทย ฉลอง กลางนอก (23) 125 0.13
ประชาภิวัฒน์ วัลลภ พึ่งไชย (17) 120 0.13
เพื่อแผ่นดิน ประทุมทิพย์ บุญสืบ (21) 115 0.12
พลังปวงชนไทย บุญเลิศ สุขประมาณ (13) 100 0.11
พลังครูไทย ยัณต์ กัณฑษา (26) 100 0.11
ฐานรากไทย ณัฐพงษ์ ภู่กลัดอัครวินท์ (29) 69 0.07
ไทรักธรรม สุทิน พุกยอด (28) 41 0.04
ภราดรภาพ ชัชวัสส์ แก้วชัยสิทธิ์ (20) 39 0.04
ไทยรักษาชาติ มิ่งขวัญ พุกเปี่ยม (8)†
เพื่อนไทย สุรชัย ตั้งสุวรรณเจริญ (19)†
ผลรวม 93,443 100.00
บัตรดี 93,443 90.72
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 949 0.92
บัตรเสีย 8,324 8.10
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 102,716 72.30
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 142,058 100.00
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก ชาติไทยพัฒนา

อ้างอิง[แก้]

  1. "พรรคเศรษฐกิจไทย" แจ้ง "สภาฯ" 18ส.ส. ที่ถูก "พปชร." ขับ ย้ายเข้าสังกัดแล้ว
  2. 'ธรรมนัส' หนีบ 11 ส.ส.เศรษฐกิจไทยย่องเงียบสมัคร 'พรรคพลังประชารัฐ' แล้ว https://www.thaipost.net/hi-light/320199/

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]