จังหวัดแพร่ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดแพร่ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

← พ.ศ. 2549 (โมฆะ) 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2554 →

3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ79.94%
  First party Second party
 
พรรค พลังประชาชน ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 0 0
ที่นั่งที่ชนะ 3 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น3 Steady0
คะแนนเสียง 169,454 76,720
% 64.29 29.11

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

สุรยุทธ์ จุลานนท์
อิสระ (คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สมัคร สุนทรเวช
พลังประชาชน

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่ พ.ศ. 2550 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 1 เขตเลือกตั้ง[1] มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 3 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2549 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน[แก้]

คะแนนรวมทั้งหมดในกลุ่มจังหวัดที่ 1[แก้]

กลุ่มจังหวัดที่ 1 ประกอบไปด้วยจังหวัดเชียงราย จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดพะเยา จังหวัดน่าน จังหวัดลำปาง จังหวัดลำพูน จังหวัดแพร่ จังหวัดสุโขทัย จังหวัดตาก และจังหวัดกำแพงเพชร จำนวน 11 จังหวัด

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 1
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 142,706 3.73
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 62,949 1.65
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3) 50,108 1.31
ประชาธิปัตย์ (4) 1,358,310 35.55
พลังเกษตรกร (5)
รักเมืองไทย (6) 58,819 1.54
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8)
ประชาราช (9)
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 1,897,077 49.65
ชาติไทย (13) 64,534 1.69
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 78,965 2.07
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 22,028 0.58
ประชากรไทย (18)
ประชามติ (19) 15,732 0.41
ไทเป็นไท (20) 25,251 0.66
พลังแผ่นดินไท (21)
มหาชน (22)
คุณธรรม (23) 18,665 0.49
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 8,731 0.23
เอกราช (28) 6,904 0.18
พลังแผ่นดิน (29) 10,221 0.27
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31)
บัตรดี 3,821,000 90.49
บัตรเสีย 272,639 6.46
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 128,966 3.05
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 4,222,602 80.40
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 5,251,918 100.00

ผู้สมัครที่ได้รับการเลือกตั้งในกลุ่มจังหวัดที่ 1[แก้]

แต่ละกลุ่มจังหวัดมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกลุ่มละ 10 คน สำหรับกลุ่มจังหวัดที่ 1 แบ่งออกเป็นตามสัดส่วนคะแนนดังนี้

พรรคการเมือง รายชื่อผู้สมัคร
พรรคพลังประชาชน ยงยุทธ ติยะไพรัช
สมชาย วงศ์สวัสดิ์
สมพงษ์ อมรวิวัฒน์
พันตำรวจโท กานต์ เทียนแก้ว
สัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์
พรรคประชาธิปัตย์ เทอดพงษ์ ไชยนันทน์
สามารถ ราชพลสิทธิ์
พลเอก พิชาญเมธ ม่วงมณี
สุรสิทธิ์ ตรีทอง
พรรคเพื่อแผ่นดิน สุรเดช ยะสวัสดิ์

คะแนนรวมเฉพาะจังหวัดแพร่[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน จังหวัดแพร่
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 3,126 1.19
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 1,982 0.75
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3) 1,087 0.41
ประชาธิปัตย์ (4) 76,720 29.11
พลังเกษตรกร (5)
รักเมืองไทย (6) 2,219 0.84
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8)
ประชาราช (9)
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 169,454 64.29
ชาติไทย (13) 3,975 1.51
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 1,422 0.54
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 664 0.25
ประชากรไทย (18)
ประชามติ (19) 618 0.23
ไทเป็นไท (20) 642 0.24
พลังแผ่นดินไท (21)
มหาชน (22)
คุณธรรม (23) 713 0.27
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 309 0.12
เอกราช (28) 347 0.13
พลังแผ่นดิน (29) 305 0.12
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31)
บัตรดี 263,583 92.62
บัตรเสีย 14,195 4.99
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 6,807 2.39
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 284,585 79.94
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 356,013 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบไปด้วยจังหวัดแพร่ทั้งจังหวัด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดแพร่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชาชน วรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล (4)* 174,306 65.32
พลังประชาชน นิยม วิวรรธนดิฐกุล (6) 168,372 63.09
พลังประชาชน ปานหทัย เสรีรักษ์ (5) 164,795 61.75
ประชาธิปัตย์ สมชัย จำปี (14) 60,858 22.81
ประชาธิปัตย์ ศิริวรรณ ปราศจากศัตรู (13)✔ 59,548 22.31
ประชาธิปัตย์ สุขุม กันกา (15) 53,494 20.05
ชาติไทย สมพร คำชื่น (7) 16,486 6.18
เพื่อแผ่นดิน เฉลิมชัย อินชัน (12) 10,297 3.86
ประชามติ ดนัย พิสุทธิ์วิริยานันท์ (3) 5,484 2.05
ชาติไทย จารุเกียรติ วังนัยกุลภักดี (8) 4,860 1.82
ประชามติ ว่าที่ร้อยเอก ชาตรี คันธะวงศ์ (1) 4,756 1.78
มัชฌิมาธิปไตย คนอง สุนทรเมือง (16) 4,236 1.59
ประชามติ รบ ถุงคำ (2) 3,415 1.28
รวมใจไทยชาติพัฒนา ษมาวีร์ กัญจน์ทวีสิน (19) 2,329 0.87
มัชฌิมาธิปไตย นภสร เฮงษฎีกุล (18) 2,304 0.86
ชาติไทย วิเชษฐ เทพลออ (9) 2,030 0.76
มัชฌิมาธิปไตย พวงเพชร ชมภูมิ่ง (17) 1,397 0.52
เพื่อแผ่นดิน ชนินทร์ ม้าแก้ว (11) 1,115 0.42
รวมใจไทยชาติพัฒนา ยรรยง แกล้วกล้า (20) 861 0.32
ไทยร่ำรวย เกรียงไกร สันป่าแก้ว (24) 798 0.30
ไทยร่ำรวย มนต์ชัย ศักดาพร (23) 723 0.27
รวมใจไทยชาติพัฒนา ไกรเดช เพื่อนฝูง (21) 640 0.24
ไทยร่ำรวย ฐิติวรรณ ตั้งตระกูล (22) 445 0.17
บัตรดี 266,862 93.77
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 11,491 4.04
บัตรเสีย 6,234 2.19
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 284,587 79.94
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 356,013 100.00
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

การเลือกตั้งใหม่[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

ในภายหลังประชุมคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) มีมติให้ใบเหลืองแก่นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล , นายนิยม วิวรรธนดิฐกุล และนางปานหทัย เสรีรักษ์ ว่าที่ ส.ส.เขต 1 จังหวัดแพร่ พรรคพลังประชาชน และมติดังกล่าวมีผลให้ กกต. ต้องสั่งเลือกตั้งใหม่ในเขตเลือกตั้งที่ 1 จังหวัดแพร่ โดยกำหนดวันเลือกตั้งใหม่คือวันที่ 20 มกราคม 2551

ซึ่งในกรณีที่ถูกใบเหลืองและต้องเลือกตั้งใหม่ ผู้สมัครเดิมในเขตจากทุกพรรคจะเข้าสู่การเลือกตั้งใหม่อีกครั้ง

ผลการเลือกตั้งใหม่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดแพร่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชาชน วรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล (4) 156,268 73.72 +8.40
พลังประชาชน นิยม วิวรรธนดิฐกุล (6) 154,307 72.80 +9.71
พลังประชาชน ปานหทัย เสรีรักษ์ (5) 153,994 72.65 +10.90
ประชาธิปัตย์ สมชัย จำปี (14) 41,967 19.80 -3.01
ประชาธิปัตย์ ศิริวรรณ ปราศจากศัตรู (13)✔ 41,084 19.38 -2.93
ประชาธิปัตย์ สุขุม กันกา (15) 35,550 16.77 -3.28
ชาติไทย สมพร คำชื่น (7) 3,482 1.64 -4.54
ประชามติ ดนัย พิสุทธิ์วิริยานันท์ (3) 3,087 1.46 -0.59
มัชฌิมาธิปไตย คนอง สุนทรเมือง (16) 2,430 1.15 -0.44
เพื่อแผ่นดิน เฉลิมชัย อินชัน (12) 2,340 1.10 -2.76
ประชามติ ว่าที่ร้อยเอก ชาตรี คันธะวงศ์ (1) 1,775 0.84 -0.94
ประชามติ รบ ถุงคำ (2) 1,492 0.70 -0.58
ชาติไทย จารุเกียรติ วังนัยกุลภักดี (8) 1,470 0.69 -1.13
รวมใจไทยชาติพัฒนา ษมาวีร์ กัญจน์ทวีสิน (19) 787 0.37 -0.50
ชาติไทย วิเชษฐ เทพลออ (9) 746 0.35 -0.41
มัชฌิมาธิปไตย นภสร เฮงษฎีกุล (18) 634 0.30 -0.56
มัชฌิมาธิปไตย พวงเพชร ชมภูมิ่ง (17) 517 0.24 -0.28
ไทยร่ำรวย เกรียงไกร สันป่าแก้ว (24) 504 0.24 -0.06
เพื่อแผ่นดิน ชนินทร์ ม้าแก้ว (11) 391 0.18 -0.24
ไทยร่ำรวย มนต์ชัย ศักดาพร (23) 380 0.18 -0.09
รวมใจไทยชาติพัฒนา ยรรยง แกล้วกล้า (20) 300 0.14 -0.18
รวมใจไทยชาติพัฒนา ไกรเดช เพื่อนฝูง (21) 163 0.08 -0.16
ไทยร่ำรวย ฐิติวรรณ ตั้งตระกูล (22) 144 0.07 -0.10
บัตรดี 211,961 94.53
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 6,845 3.05
บัตรเสีย 5,417 2.42
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 224,223 62.98
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 356,039 100.00
พลังประชาชน รักษาที่นั่ง
พลังประชาชน รักษาที่นั่ง
พลังประชาชน รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2550". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-06. สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]