วิธีใช้:รายการ
หน้าคำอธิบายนี้เป็นคู่มือบอกวิธี ซึ่งบอกรายละเอียดกระบวนการหรือกระบวนวิธีของบางส่วนของบรรทัดฐานและวัตรของวิกิพีเดีย ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของนโยบายและแนวปฏิบัติของวิกิพีเดีย
|
หน้าวิธีใช้นี้อธิบายวิธีการสร้างและแก้ไขรายการในวิกิพีเดียภาษาไทย
พื้นฐาน
[แก้]มีรายการอยู่สามประเภท ได้แก่ รายการไม่เรียงลำดับ รายการเรียงลำดับและรายการคำอธิบาย (หรือรายการบทนิยามหรือรายการความสัมพันธ์) ในส่วนต่อไปนี้ใช้รายการประเภทต่าง ๆ สำหรับตัวอย่างต่าง ๆ กัน แต่รายการประเภทอื่นโดยทั่วไปจะให้ผลลัพธ์คล้ายกัน รายการเรียงลำดับ (เลขนำ) ปกติควรใช้เฉพาะเมื่อรายการที่จัดนั้นควรอยู่ในลำดับเฉพาะ เช่น ขั้นตอนในสูตรทำอาหาร
มาร์กอัป | แสดงผลเป็น |
---|---|
* รายการสร้างได้ง่าย ๆ ** แค่ขึ้นต้นบรรทัดใหม่ * ด้วยเครื่องหมายดอกจัน ** ยิ่งมีเครื่องหมายดอกจันมาก *** จะยิ่งหมายถึงระดับย่อยลงเรื่อย ๆ |
|
* บรรทัดใหม่ * ในรายการ เป็นการสิ้นสุดของรายการ แต่แน่นอนว่า * คุณสามารถ * เริ่มใหม่ได้ |
เป็นการสิ้นสุดของรายการ แต่แน่นอนว่า
|
# รายการเลขนำมีข้อดี ## เป็นระเบียบ ## ติดตามได้ง่าย |
|
รายการคำอธิบาย (บทนิยาม, ความสัมพันธ์): ; คำ : คำอธิบาย หรือ ; คำ : คำอธิบาย สามารถใช้มากกว่าคำและบทนิยามได้โดยสภาพ หรือ ; คำ : คำอธิบายบรรทัดที่ 1 : คำอธิบายบรรทัดที่ 2 |
รายการคำอธิบาย (บทนิยาม, ความสัมพันธ์):
หรือ
สามารถใช้มากกว่าคำและบทนิยามได้โดยสภาพ หรือ
|
* หรือสร้างรายการผสม *# แล้วซ้อนใน *#* แบบนี้ *#*; ผลไม้ *#*: แอปเปิล *#*: บลูเบอร์รี |
|
# การขึ้นบรรทัดใหม่ในรายการให้ใช้เอชทีเอ็มแอลอย่างนี้ <br /> # ถ้าใช้วิธีขึ้นบรรทัดใหม่ตรง ๆ จะทำให้รายการสิ้นสุดลงโดยไม่ได้ตั้งใจ แบบนี้ # นี่ควรเป็นรายการที่ 3 ไม่ใช่รายการใหม่ |
แบบนี้
|
* ย่อหน้าใหม่ในรายการก็ใช้เอชทีเอ็มแอล <p>เช่นกัน</p> * เหมือนกับ<blockquote>"อัญพจน์บล็อก"</blockquote>แบบนั้น * หมายเหตุว่าใช้โดยไม่แยกบรรทัดของมาร์กอัพวิกิ |
|
ความผิดพลาดที่พบบ่อย
[แก้]จะต้องไม่มีบรรทัดว่างระหว่างรายการ บรรทัดว่างจะเป็นการสิ้นสุดรายการ แบ่งให้เป็นสองรายการแยกกัน ซึ่งสามารถแสดงให้เห็นได้ง่ายโดยใช้รายการเรียงลำดับ
มาร์กอัป | แสดงผลเป็น |
---|---|
# นี่คือรายการที่ 1 # นี่คือรายการที่ 2 # นี่คือรายการที่ 3 # นี่คือรายการที่ 4 |
|
# นี่คือรายการที่ 1 # นี่คือรายการที่ 2 # นี่คือรายการที่ 3 # นี่คือรายการที่ 4 |
|
หมายเหตุ: ในวิกิพีเดียภาษาไทย สำหรับเซลล์ของตารางหรือตัวแปรเสริมของแม่แบบ อาจต้องใส่ <nowiki />
ในบรรทัดแรก และขึ้นบรรทัดใหม่ เพื่อให้เครื่องหมายวรรคตอน (# ;
) แสดงผลได้ถูกต้อง มิฉะนั้นบรรทัดแรกจะกลายเป็นเครื่องหมายวรรคตอนตามปกติ
ในตัวอย่างที่สองข้างต้น การเรียงเลขตั้งค่าใหม่หลังการขึ้นบรรทัดใหม่ ปัญหานี้อาจสังเกตได้ไม่ชัดกับรายการประเภทอื่น แต่ยังส่งผลต่อรหัสเอชทีเอ็มแอลพื้นหลังและอาจมีผลรบกวนสำหรับผู้อ่านบางคน
หากจะทำให้เป็นรายการ แต่ละบรรทัดจะต้องขึ้นต้นเหมือนกัน ซึ่งใช้กับรายการผสมด้วย
มาร์กอัป | แสดงผลเป็น |
---|---|
# หากคุณเริ่มด้วย # รายการประเภทหนึ่ง #; และรายการย่อย #: คนละประเภท #:* จะต้องใส่อักขระรายการ # เรียงลำดับเสมอ |
|
# หากคุณกลับ # อันดับ ;# ทุกอย่าง :# จะ *:# พังทันที # และไม่มีอะไรที่เข้ากัน |
|
ความผิดพลาดนี้ก็เห็นได้ไม่ชัดเช่นกันในบางกรณี แต่มันจะสร้างรายการประเภทต่าง ๆ ที่มีรายการเดียว นอกจากจะมีความหมายผิดแล้ว อาจมีผลข้างเคียงรบกวนต่อผู้อ่านบางคน
อย่าใช้เครื่องหมายอัฒภาค (;
) เพื่อให้ชื่อเรื่องแก่รายการ เพราะอัฒภาคและทวิภาค (:
) ก็เป็นรายการประเภทหนึ่ง เครื่องหมายดอกจันก็สร้างรายการอีกประเภทหนึ่ง
มาร์กอัป | แสดงผลเป็น |
---|---|
;ห้ามทำ *อย่างนี้ |
|
ย่อหน้าและการแบ่งตอนอื่น ๆ
[แก้]เทคนิคทั้งหมดที่อธิบายในส่วนนี้สามารถใช้ได้พร้อม ๆ กันและกับรายการประเภทใดก็ได้ ระดับใดก็ได้
ย่อหน้าในไอเท็มของรายการ
[แก้]เพื่อให้เข้าใจง่าย ไอเท็มรายการในมาร์กอัพวิกิล้วนไม่ซับซ้อนไปกว่าย่อหน้าพื้นฐาน การแบ่งบรรทัดในมาร์กอัพวิกิของไอเท็มรายการจะไม่เพียงยุติไอเท็มนั้น แต่ยังทำให้ทั้งรายการยุติลงด้วย และตั้งตัวนับรายการเรียงลำดับใหม่ การแยกรายการไม่เรียงลำดับด้วยบรรทัดว่างอาจดูเหมือนปกติบนจอภาพ แต่มันสร้างรายการหนึ่งไอเท็มแยกกันหลายรายการ ซึ่งเป็นปัญหาสำหรับผู้ที่ใช้โปรแกรมอ่านจอภาพ (screen reader) และยังเป็นปัญหาสำหรับการวิเคราะห์บทความของเครื่อง และสำหรับการนำเนื้อหาวิกิพีเดียไปใช้ซ้ำโดยทั่วไป
สามารถสร้างย่อหน้าในไอเท็มรายการได้โดยใช้ส่วนย่อยเอชทีเอ็มแอล <p>...</p>
(ย่อหน้า) คร่อมย่อหน้าที่สองและย่อหน้าถัดไป โดยไม่เว้นบรรทัดในมาร์กอัพวิกิ:
มาร์กอัป | แสดงผลเป็น |
---|---|
# ย่อหน้า 1.<p>ย่อหน้า 2.</p><p>ย่อหน้า 3.</p> # ไอเท็มที่ 2 |
|
อย่าใช้ <br />
แทน <p>...</p>
เพราะมีอรรถศาสตร์ (semantics) ต่างกันและใช้แทนกันไม่ได้
สำหรับความอ่านได้ของรหัส (การพัฒนาเห็นได้ชัดเมื่อย่อหน้ายาว ไม่ใช่ตัวอย่างสั้นแบบนี้) อาจสร้างการแบ่งบรรทัดด้วยความเห็นเอชทีเอ็มแอล <!-- ... -->
ซึ่งเริ่มต้นในบรรทััดหนึ่ง ณ จุดสิ้นสุดของรหัสบรรทัดนั้น และสิ้นสุดที่อีกบรรทัดหนึ่ง ณ จุดเริ่มต้นของรหัสบรรทัดนั้น
มาร์กอัป | แสดงผลเป็น |
---|---|
# ย่อหน้า 1.<!-- --><p>ย่อหน้า 2.</p><!-- --><p>ย่อหน้า 3.</p> # ไอเท็มที่ 2 |
|
การแบ่งบรรทัดในไอเท็มรายการ
[แก้]ใช้ <br />
เดี่ยวสำหรับการแบ่งบรรทัดที่ไม่ใช่ย่อหน้า คือ ที่ที่ไม่ต้องการสร้างรายการซ้อนในเพราะไอเท็มย่อยมีจำนวนนำหน้าอยู่แล้ว
มาร์กอัป | แสดงผลเป็น |
---|---|
# เตรียมส่วนประกอบ:<br />1{{frac|1|2}} (powdered)<br />2 bat wings<br />4 cups mandrake root juice # คนในหม้อใหญ่เหนือไฟอ่อน ๆ เป็นเวลา 30 นาที |
|
จะต้องใช้การแบ่งบรรทัดด้วยรหัส <br />
การแบ่งบรรทัดข้อความวิกิแท้จริง (คือ การกด ป้อนเข้า/ขึ้นบรรทัด ขณะเขียนรหัสต้นทาง) จะทำให้รายการสิ้นสุด
บล็อกซ้อนในในไอเท็มรายการ
[แก้]การใช้เอชทีเอ็มแอลคล้ายกันสามารถให้เกิดอัญพจน์บล็อกในไอเท็มรายการ
มาร์กอัป | แสดงผลเป็น |
---|---|
* เริ่มต้นไอเท็มแรก<blockquote>อัญพจน์ขนาดใหญ่</blockquote>ไอเท็มแรกที่เหลือ<br /><br /> * ไอเท็มที่ 2 |
|
* เริ่มต้นไอเท็มแรก<blockquote>อัญพจน์ขนาดใหญ่</blockquote>ไอเท็มแรกที่เหลือ<br /><br /> * ไอเท็มที่ 2 |
|
อีกกรณีที่คล้ายกันคือบล็อกรหัสซ้อนในขนาดเล็ก
มาร์กอัป | แสดงผลเป็น |
---|---|
แม่แบบ {{tnull|fnord}} มี 2 ตัวแปรย่อย: # {{para|foo}} บ่งชี้ระดับ ''foo'':<br /><pre>{{fnord|foo=20}}</pre> # {{para|bar}} บ่งชี้... |
แม่แบบ
|
ในที่นี้ การแบ่งบรรทัดยังไม่สามารถเกิดในไอเท็มรายการได้ แม้อยู่ใน <pre>
และกลเม็ดความเห็นเอชทีเอ็มแอลใช้ไม่ได้กับ <pre>
ซึ่งเป็นสาเหตุที่เทคนิคนี้เหมาะสำหรับตัวอย่างรหัสสั้น ๆ เท่านั้น
การต่อไอเท็มรายการหลังไอเท็มย่อย
[แก้]ในเอชทีเอ็มแอล ไอเท็มรายการอาจมีรายการย่อยหลายรายการ ซึ่งไม่จำเป็นต้องอยู่ติดกัน ฉะนั้นอาจมีบางส่วนของไอเท็มรายการที่ไม่อยู่หน้ารายการย่อยแรกเท่านั้น แต่ยังอยู่ระหว่างรายการย่อย และหลังรายการย่อยสุดท้ายด้วย
ทว่า ในมาร์กอัพวิกิรายการย่อยยึดกฎเดียวกันกับส่วนของหน้า คือ ส่วนเดียวที่เป็นไปได้ของไอเท็มรายการที่จะไม่อยู่ในรายการย่อยคือก่อนรายการย่อยแรก
ในกรณีรายการระดับแรกไม่มีเลขนำในมาร์กอัพวิกิ ข้อจำกัดนี้สามารถอ้อมได้โดยการแบ่งรายการออกเป็หลายรายการ ข้อความย่อหน้าระหว่างรายการบางส่วนอาจดูเป็นส่วนเหนึ่งของไอเท็มรายการหลังรายการย่อย ทว่า ผู้อ่านหลายคนอาจพบว่ามันน่าสับสน เนื่องจากการย่อหน้าอาจทำให้ดูเหมือนเป็นการต่อเนื่องของไอเท็มรายการย่อยสุดท้ายมากกว่า นอกจากนี้ เทคนิคนี้อาจทำให้เกิดบรรทัดว่างก่อนและหลังแต่ละรายการด้วยขึ้นอยูกับซีเอสเอส ซึ่งในกรณีนี้เพื่อความเป็นเอกรูป ไอเท็มรายการระดับแรกทุกไอเท็มควรทำเป็นรายการแยกซึ่งทำให้รหัสซับซ้อนยิ่งขึ้นอีก สำหรับรายการที่ซับซ้อนเช่นนี้ แนะนำให้ใช้เทคนิค {{ordered list}} (รายการเรียงลำดับ) และแทนที่ตัวอย่างรุ่นมาร์กอัพวิกิ "เร็วและสกปรก" ด้วยรุ่น {{tl|ordered list}
รายการมีเลขนำเป็นตัวอย่างว่าสิ่งที่ควรดูเหมือนรายการหนึ่งอาจมีรายการซ้อนในหลายรายการสำหรับซอฟต์แวร์ รายการไม่มีเลขนำอาจให้ผลลัพธ์คล้ายกัน ยกเว้นแต่ปัญหาของการเริ่มใหม่ด้วย 1 จะใช้ไม่ได้
มาร์กอัป | แสดงผลเป็น |
---|---|
<ol> <li>ไอเท็มรายการเอ1 <ol> <li>ไอเท็มรายการบี1</li> <li>ไอเท็มรายการบี2</li> </ol>ไอเท็มรายการเอ1 ต่อ </li> <li>ไอเท็มรายการเอ2</li> </ol> |
|
{{ordered list | ไอเท็มรายการเอ1 {{ordered list | ไอเท็มรายการบี1 | ไอเท็มรายการบี2 }} ไอเท็มรายการเอ1 ต่อ | ไอเท็มรายการเอ2 }} |
|
# ไอเท็มรายการเอ1 ## ไอเท็มรายการบี1 ## ไอเท็มรายการบี2 #: ไอเท็มรายการเอ1 ต่อ # ไอเท็มรายการเอ2 |
|
ลึกไปอีกหนึ่งระดับ โดยมีไอเท็มรายการย่อยต่อหลังรายการย่อยย่อย จะได้บรรทัดว่างมากขึ้น ทว่า จะไม่กระทบต่อความต่อเนื่องกับรายการระดับแรก
มาร์กอัป | แสดงผลเป็น |
---|---|
# ไอเท็มรายการเอ1 ## ไอเท็มรายการบี1 ### ไอเท็มรายการซี1 ##: ไอเท็มรายการบี1 ต่อ ## ไอเท็มรายการบี2 # ไอเท็มรายการเอ2 |
|
ดูเพิ่มที่ m:แม่แบบ:List demo (backlinks edit)
การเว้นวรรคระหว่างไอเท็ม
[แก้]สำหรับรายการเรียงลำดับที่รายการซึ่งมีความยาวมากกว่าหนึ่งย่อหน้า การใช้กลเม็ดความเห็นเอชทีเอ็มแอลที่กล่าวข้างต้นเพื่อเพิ่มบรรทัดว่างระหว่างไอเท็มในวิกิโค้ดอาจจำเป็นเพื่อเลี่ยงควาามสับสนของผู้ใช้เพิ่ม This is done with a commented-out line:
# ไอเท็มที่ 1<!-- --> # ไอเท็มที่ 2
แบบนี้ไม่สร้างการเว้นวรรคที่เห็นได้ที่ไม่พึงประสงค์หรือรหัสรายการเลวในหน้าที่แสดงผลแบบการเพิ่มบรรทัดว่าง:
- ไอเท็มที่ 1
- ไอเท็มที่ 2
ความเห็นต้องขึ้นต้นในบรรทัดเดียวกับที่ไอเท็มก่อนหน้าสิ้นสุด และความเห็นจะต้องสิ้นสุดในบรรทัดของมันเอง
ผิด:
# ไอเท็มที่ 1 <!-- --> # ไอเท็มที่ 2
ผิด:
# ไอเท็มที่ 1 <!-- --># ไอเท็มที่ 2
หากข้อความที่แสดงผลมัีปัญหาการอ่านได้เนื่องจากไอเท็มรายการซับซ้อน หรือด้วยเหตุผลอื่น ประสงค์ให้มีช่องว่างระหว่างไอเท็มรายการ ให้เพิ่มคู่การแบ่งบรรทัดเอชทีเอ็มแอลชัดแจ้งเพื่อยุติไอเท็มรายการ
# ไอเท็ม 1<br /><br /> # ไอเท็ม 2<br /><br />
จะได้
- ไอเท็ม 1
- ไอเท็ม 2
เทียบกับรุ่นที่ไม่เว้น
- ไอเท็ม 1
- ไอเท็ม 2
การเปลี่ยนประเภทของรายการ
[แก้]ประเภทของรายการ (หมายถึงมาร์กเกอร์ประเภทใดปรากฏก่อนไอเท็มรายการ) สามารถเปลี่ยนได้ในซีเอสเอสโดยตั้งคุณสมบัติ list-style-type
มาร์กอัป | แสดงผลเป็น |
---|---|
{{ordered list|type=lower-roman | เกี่ยวกับผู้ประพันธ์ | คำนิยมฉบับพิมพ์ครั้งที่ 1 | คำนิยมฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 }} |
|
หรือใช้เอชทีเอ็มแอล:
มาร์กอัป | แสดงผลเป็น |
---|---|
<ol style="list-style-type: lower-roman;"> <li>เกี่ยวกับผู้ประพันธ์</li> <li>คำนิยมฉบับพิมพ์ครั้งที่ 1</li> <li>คำนิยมฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2</li> </ol> |
|
การย่อหน้ารายการเพิ่ม
[แก้]ในรายการมีเลขนำในชุดแบบอักษรขนาดใหญ่ บางเบราว์เซอร์ไม่แสดงการย่อหน้าเกินสองหลัก (ช่องว่างความกว้าง 2 ช่อง) ยกเว้นมีการใช้การย่อหน้าเพิ่ม (หรือแต่ละแนวตั้งหากมีหลายแนวตั้ง) แก้ไขได้ด้วยการเพิ่มการย่อหน้าโดยปริยารย 3.2 em อีก 2em และสามารถทำได้หลายวิธี
เมื่อใช้ไอเท็มรายการ <li>
เอชทีเอ็มแอลชัดแจ้ง ใช้การเว้นว่างขอบซีเอสเอสชัดแจ้ง 4em เพื่อเพิ่มการเว้นว่างโดยปริยาย 2em เป็นสองเท่า แม้ไม่ใช่วิธีง่ายที่สุด แต่เป็น "วิธีถูกต้องที่สุดและมีประโยชน์หลากหลายที่สุด" เพราะมันไม่อาศัยลักษณะผิดปกติของตัวแจงส่วนใด ๆ หรือละเมิดมาร์กอัพอรรถศาสตร์เพื่อวัตถุประสงค์ภาพเพียงอย่างเดียว วิธีนี้ทำให้สามารถขึ้นต้นด้วยจำนวนอื่นนอกจาก 1 ได้ (ดูด้านล่าง) เป็นวิธีแนะนำสำหรับรายการซับซ้อน
มาร์กอัป | แสดงผลเป็น |
---|---|
<ol style="margin-left: 5.2em;"> <li>abc</li> <li>def</li> <li>ghi</li> </ol> |
|
{{ordered list|style=margin-left: 2em | abc | def | ghi }} |
|
ตัวแจงส่วนแปลรายการเรียงลำดับ <ol>
โดยปราศจากไอเท็มรายการใด ๆ <li>
(ในกรณีนี้ มันมี <ol>
อีกอันหนึ่งเข้าใน <div>
พร้อม style="margin-left: 2em;"
ทำให้เกิดการย่อหน้าของเนื้อหา นี่เป็นวิธีที่มีประโยชน์หลากหลายแต่อาจทำให้เกิดความสับสนได้ เพราะทำให้สามารถเริ่มต้นด้วยจำนวนนอกเหนือจาก 1 (ดูด้านล่าง) มันซับซ้อนโดยไม่จำเป็น และดูเหมือนเอชทีเอ็มแอลที่ไม่สมเหตุสมผล ขณะที่ตัวแจงส่วนแก้ไขมันให้ถูกต้องโดยเร็ว แต่มีเพียงผู้เชี่ยวชาญมีเดียวิกิเท่านั้นที่ทราบ โดยผลลัพธ์คือผู้เขียนอื่นมีแนวโน้มพยายาม "แก้ไข" โดยลบสิ่งที่ดูเหมือนโค้ด <ol>
ที่ซ้ำซ้อน
มาร์กอัป | แสดงผลเป็น |
---|---|
<ol> <ol> <li>abc</li> <li>def</li> <li>ghi</li> </ol> </ol> |
|
ใส่เอชทีเอ็มแอล <ol>...</ol>
ชัดแจ้งรอบไอเท็มรายการมาร์กอัพวิกิ ซึ่งทำหน้าที่แบบเดียวกับตัวอย่างก่อนหน้าที่เนื้อหาของ "รายการเรียงลำดับที่ไม่มีไอเท็มรายการใด ๆ" ซึ่งตัวมันเองเป็นรายการเรียงลำดับ แสดงด้วยรหัส # มีการผลิตเอชทีเอ็มแอล ฉะนั้นการแสดงผลจึงเหมือนกัน นี่เป็นวิธีง่ายที่สุดและแนะนำเมื่อเริ่มรายการง่าย ๆ ด้วยเลข 1
มาร์กอัป | แสดงผลเป็น |
---|---|
<ol> # abc # def # ghi </ol> |
|
รายการตั้งแต่หนึ่งบรรทัดขึ้นไปที่มีเครื่องหมายทวิภาคสร้าง รายการคำอธิบาย เอชทีเอ็มแอล5 (เดิมเป็นรายการบทนิยามในเอชทีเอ็มแอล4 และรายการความสัมพันธ์ในเอชทีเอ็มแอล5 แบบร่าง) โดยไม่มีคำให้นิยาม/อธิบาย/ความสัมพันธ์ แต่มีไอเท็มเป็นคำอธิบาย/บทนิยาม/ความสัมพันธ์ จึงมีการย่อหน้า ทว่า หากเครื่องหมายทวิภาคอยู่หน้ารหัส "*" หรือ "#" ของรายการไม่เรียงลำดับหรือเรียงลำดับ จะถือว่ารายการเป็นคำอธิบาย/บทนิยามหนึ่ง ฉะนั้นจึงย่อหน้าทั้งรายการ
วิธีที่ไม่สมควร: เทคนิคด้านล่างนี้ทำให้เกิดมาร์กอัพที่มีรูปแบบเลว และละเมิดวัตถุประสงค์เอชทีเอ็มแอลอถรรศาสตร์ของรายการคำอธิบายเพื่อผลทางภาพอย่างเดียว ฉะนั้นจึงก่อให้เกิดปัญหาการใช้งานและการเข้าถึง จะได้ผลเวลาต้องการความเร็ว แต่ควรเปลี่ยนเป็นรหัสที่ถูกต้องกว่านี้
มาร์กอัป | แสดงผลเป็น |
---|---|
:# abc :# def :# ghi |
|
หน้า meta:Help:List demo สาธิตว่าวิธีต่าง ๆ เหล่านี้แสดงเลขโดดทุกตัวของจำนวน 3 หลัก (คือ สามารถจัดการรายการที่มี 999 ไอเท็มได้โดยไม่ก่อให้เกิดปัญหาการแสดงผลแม้ในชุดแบบอักษรขนาดค่อนข้างใหญ่)
เจาะจงค่าเริ่มต้น
[แก้]สามารถเจาะจงค่าเริ่มต้นได้ด้วยแม่แบบ {{ordered list}} โดยใช้ลักษณะประจำ start
และ value
มาร์กอัป | แสดงผลเป็น |
---|---|
{{ordered list|start=9 | อัมสเตอร์ดัม | รอตเทอร์ดัม | กรุงเฮก }} |
|
หรือ
มาร์กอัป | แสดงผลเป็น |
---|---|
{{ordered list | item1_value=9 | 1 = อัมสเตอร์ดัม | item2_value=8 | 2 = รอตเทอร์ดัม | item3_value=7 | 3 = กรุงเฮก }} |
|
หรืออีกทางหนึ่ง มีเฉพาะไอท็มรายการที่ตั้งค่าเท่านั้นที่เขียนด้วยเอชทีเอ็มแอล รายการที่เหลือสามารถใช้วากยสัมพันธ์วิกิ
มาร์กอัป | แสดงผลเป็น |
---|---|
# <li value="9">อัมสเตอร์ดัม</li> # รอตเทอร์ดัม # กรุงเฮก |
|
แต่จะใช้ไม่ได้ใน <ol>...</ol>
การเปรียบเทียบกับตาราง
[แก้]นอกจากให้การเรียงเลขอัตโนมัติแล้ว รายการมีเลขนำยังจัดเรียงเนื้อหาของไอเท็ม เทียบได้กับการใช้วากยสัมพันธ์ตาราง
{| |- | align="right" | 9. || อัมสเตอร์ดัม |- | align="right" | 10. || รอตเทอร์ดัม |- | align="right" | 11. || กรุงเฮก |}
จะได้
9. | อัมสเตอร์ดัม |
10. | รอตเทอร์ดัม |
11. | กรุงเฮก |
การเรียงเลขไม่อัตโนมัติเช่นนี้มีข้อดีหากข้อความกล่าวถึงตัวเลข การแทรกหรือลบไอเท็มหนึ่ง ๆ จะไม่รบกวนไอเท็มที่เหลือ
รายการจุดนำหลายสดมภ์
[แก้]{{col-begin|width=auto}} {{col-break}} * 1 * 2 {{col-break}} * 3 * 4 * 5 {{col-end}}
จะได้
|
|
เหมายเหตุ: ใช้แม่แบบ {{Columns-list}} ง่ายกว่าและยืดหยุ่นกว่า และไม่แบ่งรายการเดียวออกเป็นหลายรายการ
{{columns-list|colwidth=10em| * 1 * 2 * 3 * 4 * 5 }}
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
รายการเลขนำหลายสดมภ์
[แก้]การระบุค่าเริ่มต้นมีประโยชน์สำหรับรายการเลขนำที่มีหลายสดมภ์ เพื่อเลี่ยงการเริ่มต้นใหม่จาก 1 ในแต่ละสดมภ์ ดังที่กล่าวไปข้างต้นนี่สามารถใช้ได้เฉพาะวากยสัมพันธ์เอชทีเอ็มแอล (สำหรับสดมภ์แรกใช้ได้ทั้งวากยสัมพันธ์วิกิหรือวากยสัมพันธ์เอชทีเอ็มแอล)
ใช้ร่วมกับการย่อหน้าเพิ่มโดยใช้ตัวแปรเสริม |gap=
:
{{col-begin|width=auto}} {{col-break|gap=2em}} {{ordered list|start=125|a|bb|ccc}} {{col-break|gap=2em}} {{ordered list|start=128|ddd|ee|f}} {{col-end}}
จะได้
|
|
การใช้ {{multi-column numbered list}} การคำนวณค่าเริ่มต้นสามารถทำได้อัตโนมัติ และต้องระบุเพียงค่าเริ่มต้นแรกและจำนวนไอเม็ใในแต่ละสดมภ์ยกเว้นสดมภ์สุดท้าย การเพิ่มไอเท็มเข้า หรือลบไอเท็มออกจกาสดมภ์จำเป็นต้องปรับจำนวนเดียว คือ จำนวนไอเท็มในสดมภ์นั้น ไม่ต้องเปลี่ยนเลขตั้งต้นในสดมภ์ที่ไม่ใช่สดมภ์แรกทั้งหมด
{{multi-column numbered list|125|a<li>bb<li>ccc|3|<li>ddd<li>ee<li>f}}
จะได้
|
|
{{multi-column numbered list|lst=lower-alpha|125|a<li>bb<li>ccc|3|<li>ddd<li>ee|2|<li>f}}
จะได้
|
|
|
{{multi-column numbered list|lst=lower-roman|125|a<li>bb<li>ccc|3|<li>ddd<li>ee|2|<li>f}}
จะได้
|
|
|
{{multi-column numbered list|lst=disc|125|a<li>bb<li>ccc|3|<li>ddd<li>ee|2|<li>f}}
จะได้
|
|
|
หมายเหตุว่าค่าเริ่มต้นสำหรับแต่ละสดมภ์ (125, +3, +2) ไม่มีผลเมื่อใช้ประเภทรายการคำอธิบาย
แบบแนวนอน
[แก้]นอกจากนี้ยังสามารถนำเสนอรายการสั้น ๆ โดยใช้การจัดรูปแบบง่ายมาก ๆ ได้ เช่น
''ชื่อรายการ:'' ตัวอย่าง 1, ตัวอย่าง 2, ตัวอย่าง 3
ชื่อรายการ: ตัวอย่าง 1, ตัวอย่าง 2, ตัวอย่าง 3
ลีลานี้ต้องการช่องว่างในหน้าน้อยกว่า และควรใช้วิธีนี้หากมีหน่วยในรายการน้อย สามารถอ่านได้ง่าย และไม่จำเป็นต้องใช้จุดแก้ไขโดยตรง
ตาราง
[แก้]ตารางหนึ่งสดมภ์คล้ายกับรายการ แต่สามารถจัดเรียงได้ หากมีการเลือกข้อความวิกิเข้ากลุ่มแล้วด้วยแป้นเลือกเข้ากลุ่มเดียวกันแล้ว จะไม่เกิดประโยชน์นี้ ตารางหลายสดมภ์ทำให้สามารถจัดเรียงได้ในสดมภ์ใด ๆ
ดูเพิ่มที่ วิธีใช้:ตาราง
ดูเพิ่ม
[แก้]- mw:Extension:Sort2 ซึ่งสร้างรายการด้วยรหัสรายการเพียงตอนต้นและตอนท้าย ไม่ใช่ต่อรายการ ทำให้สามารถเปลี่ยนแปลงประเภทรายการได้ง่าย และเรียงลำดับรายการ
- หมวดหมู่:แม่แบบจัดรูปแบบและฟังก์ชันรายการ