ข้ามไปเนื้อหา

รถไฟใต้ดินเวียนนา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รถไฟใต้ดินเวียนนา
โครงข่ายรถไฟฟ้าเวียนนา
โครงข่ายรถไฟฟ้าเวียนนา
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งเวียนนา
ประเภทรถไฟใต้ดิน
จำนวนสาย5
จำนวนสถานี104
ผู้โดยสารต่อวัน1,300,000 (2009)[1]
ผู้โดยสารต่อปี534.4 ล้านคน (2010)[2]
เว็บไซต์Wiener Linien
การให้บริการ
เริ่มดำเนินงาน8 พฤษภาคม ค.ศ. 1976
ผู้ดำเนินงานWiener Linien
ระยะห่าง2–15 นาที
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทาง74.6 km (46.4 mi)[1]
รางกว้าง1,435 mm (4 ft 8 12 in)
การจ่ายไฟฟ้า750 V DC รางที่สามและระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือหัว
ความเร็วสูงสุด85 km/h (53 mph)

รถไฟใต้ดินเวียนนา (เยอรมัน: U-Bahn Wien) เป็นระบบรถไฟใต้ดินในกรุงเวียนนา ประกอบด้วย 5 เส้นทาง รวมระยะทาง 74.6 กิโลเมตร (46.4 ไมล์)[1][3] จำนวน 101 สถานี[1] มีผู้โดยสารมาใช้บริการมากกว่า 1.3 ล้านคนต่อปี[1][2]

โครงข่าย

[แก้]

มีโครงข่ายทั้งหมด 5 เส้นทาง (ยู 1 - ยู 4 และยู 6) 101 สถานี รวมสถานีเปลี่ยนเส้นทาง 9 สถานี ระยะทางทั้งสิ้น 75 กิโลเมตร (47 ไมล์)[3] นอกจากนี้ ยังมีโครงการส่วนต่อขยายที่จะทำให้เสร็จภายใน ค.ศ. 2019 อีกด้วย

เส้นทาง สี สถานีปลายทาง ระยะทาง จำนวนสถานี
แดง รอยมันน์พลัทซ์ – เลโอพอลเดา 14.6 กิโลเมตร (9.1 ไมล์) 19
ม่วง คาร์ลสพลัทซ์ – เซชตัท 16.7 กิโลเมตร (10.4 ไมล์) 20
ส้ม อ็อททาคริง – ซิมเมอริง 13.5 กิโลเมตร (8.4 ไมล์) 21
เขียว ฮึทเทิลด็อร์ฟ – ไฮลีเกินชตัท 16.5 กิโลเมตร (10.3 ไมล์) 20
น้ำตาล ซีเบินเฮียร์เทิน – โฟลริทส์ด็อร์ฟ 17.4 กิโลเมตร (10.8 ไมล์) 24

ระบบรถไฟฟ้า

[แก้]

โครงการขยายระบบเพิ่มเติม

[แก้]

การขยายครั้งที่ 4 (2010–2017)

[แก้]

แผนการขยายระบบอูบานครั้งที่ 4 ของเวียนนาเริ่มต้นขึ้นในปี 2001 โดยมีโครงการย่อย 2 โครงการที่ได้รับการยืนยันคือ

  • การขยายสาย U2 จากอัสเพิร์นชตราสเซอ ไปถึง ฟลุกเฟลด์ อัสเพิร์น แล้วเสร็จและเปิดให้บริการในวันที่ 5 ตุลาคม 2013[4][5]
  • การขยายสาย U1, 4.6 กิโลเมตร (2.9 ไมล์)* จากรอยมันพลัทซ์ ไปถึง โอเบอร์ลา คาดการว่าจะเสร็จภายในปี 2017[6]

การขยายครั้งที่ 5

[แก้]

ในสัญญาระบบรถไฟปัจจุบัน งานออกแบบสำหรับทศวรรษถัดไปได้รับการยืนยัน โดยมีการพูดคุยเปิดประเด็นเกี่ยวกับการขยายครั้งที่ 5 ของสาย U6 ไปทางทิศเหนือออกจาก ฟลอริสดอร์ฟ [1] เนื่องจากปัญหาการจราจรที่จุดเข้าเมืองจำเป็นที่จะต้องได้รับการแก้ไข โดยอาจตะต้องดูว่าจะขยายไปถึงขอบเมืองหรือออกไปนอกเมืองอีกครั้งหนึ่ง

ดูเพิ่ม

[แก้]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 Hödl, J: Das Wiener U-Bahn-Netz, Wiener Linien, 2009.
  2. 2.0 2.1 "A Look at the Company - Wiener Linien - Abridged Annual Report 2010" (PDF). wienerlinien.at (pdf) (ภาษาอังกฤษ). Wiener Linien. 2010. p. 2. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-08-16. สืบค้นเมื่อ 2013-09-20.
  3. 3.0 3.1 "Wiener Linien - Company Profile" (ภาษาอังกฤษ). Wiener Linien. สืบค้นเมื่อ 2013-09-20.[ลิงก์เสีย]
  4. "U2 auf verlängerter Strecke unterwegs" [U2 Route Extended] (ภาษาเยอรมัน). Wiener Linien. 6 October 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-02-03. สืบค้นเมื่อ 2014-04-05.
  5. "U2-Verlängerung eröffnet" [U2 extension opened] (ภาษาเยอรมัน). ORF Wien. 5 October 2013. สืบค้นเมื่อ 2014-03-09.
  6. "Wien metro line U1 to be extended to Oberlaa". Railway Gazette International. สืบค้นเมื่อ 2012-04-03.[ลิงก์เสีย]

อ้างอิง

[แก้]
เยอรมัน
  • Johann Hödl: Das Wiener U-Bahn Netz, Wiener Linien, 2009
  • Johann Walter Hinkel: U-Bahnen von 1863 bis 2010, N.J. Schmid Verlagsgesellschaft, 2004

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]