ยูเบอร์คัพ
หน้าตา
การแข่งหรือฤดูกาลปัจจุบัน: ทอมัส & ยูเบอร์ คัพ 2022 | |
กีฬา | แบดมินตัน |
---|---|
ก่อตั้ง | 1957 |
จำนวนทีม | 16 |
ประเทศ | BWF ชาติสมาชิก |
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน | เกาหลีใต้ (2 สมัย) |
ทีมชนะเลิศสูงสุด | จีน (15 สมัย) |
ยูเบอร์คัพ บางครั้งเรียกว่า การแข่งขันแบดมินตันทีมหญิงชิงแชมป์โลก เป็นการแข่งขันแบดมินตันประเภททีมหญิงโลกระดับทีมชาติ ครั้งแรกก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1956–1957 และจัดการแข่งขันในช่วงระยะเวลาสามปี ต่อมาได้เปลี่ยนการจัดการแข่งขันทุกๆ สองปีนับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1984 เมิ่อกำหนดการแข่งขันและสนามการแข่งขันถูกควบรวมกับ ทอมัส คัพ หรือการแข่งขันแบดมินตันทีมชายชิงแชมป์โลก ยูเบอร์คัพได้ตั้งชื่อนี้ ในปี ค.ศ. 1950 หลังจาก เบ็ตตี ยูเบอร์ อดีตนักแบดมินตันหญิงชาว สหราชอาณาจักร ได้มีแนวคิดในการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันของผู้หญิงให้คล้ายคลึงกับผู้ชาย[1]
ผลการแข่งขัน
[แก้]สรุปผลงานยูเบอร์คัพ
[แก้]1957 – 1981
[แก้]ปี[2] | เจ้าภาพ | รอบชิงชนะเลิศ | |||
---|---|---|---|---|---|
ชนะเลิศ | ผล | รองชนะเลิศ | |||
1957 รายละเอียด |
แลงคาเชอร์, ประเทศอังกฤษ | สหรัฐอเมริกา |
6–1 | เดนมาร์ก | |
1960 รายละเอียด |
ฟิลาเดลเฟีย, สหรัฐ | สหรัฐอเมริกา |
5–2 | เดนมาร์ก | |
1963 รายละเอียด |
วิลมิงตัน, สหรัฐ | สหรัฐอเมริกา |
4–3 | อังกฤษ | |
1966 รายละเอียด |
เวลลิงตัน, ประเทศนิวซีแลนด์ | ญี่ปุ่น |
5–2 | สหรัฐอเมริกา | |
1969 รายละเอียด |
โตเกียว, ประเทศญี่ปุ่น | ญี่ปุ่น |
6–1 | อินโดนีเซีย | |
1972 รายละเอียด |
โตเกียว, ประเทศญี่ปุ่น | ญี่ปุ่น |
6–1 | อินโดนีเซีย | |
1975 รายละเอียด |
จาการ์ตา, ประเทศอินโดนีเซีย | อินโดนีเซีย |
5–2 | ญี่ปุ่น | |
1978 รายละเอียด |
ออกแลนด์, ประเทศนิวซีแลนด์ | ญี่ปุ่น |
5–2 | อินโดนีเซีย | |
1981 รายละเอียด |
โตเกียว, ประเทศญี่ปุ่น | ญี่ปุ่น |
6–3 | อินโดนีเซีย |
1984 – 1988
[แก้]ปี | เจ้าภาพ | รอบชิงชนะเลิศ | รอบชิงอันดับที่ 3 | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ชนะเลิศ | ผล | รองชนะเลิศ | อันดับ 3 | ผล | อันดับ 4 | ||||
1984 รายละเอียด |
กัวลาลัมเปอร์, ประเทศมาเลเซีย | จีน |
5–0 | อังกฤษ |
เกาหลีใต้ |
5–0 | เดนมาร์ก | ||
1986 รายละเอียด |
จาการ์ตา, ประเทศอินโดนีเซีย | จีน |
3–2 | อินโดนีเซีย |
เกาหลีใต้ |
3–2 | ญี่ปุ่น | ||
1988 รายละเอียด |
กัวลาลัมเปอร์, ประเทศมาเลเซีย | จีน |
5–0 | เกาหลีใต้ |
อินโดนีเซีย |
5–0 | ญี่ปุ่น |
1990 เป็นต้นไป
[แก้]ตารางเหรียญการแข่งขัน
[แก้]ทีม | ชนะเลิศ | รองชนะเลิศ |
---|---|---|
จีน | 15 (1984, 1986, 1988, 1990, 1992, 1998, 2000, 2002*, 2004, 2006, 2008, 2012*, 2014, 2016*, 2020) | 3 (1994, 1996, 2010) |
ญี่ปุ่น | 6 (1966, 1969*, 1972*, 1978, 1981*, 2018) | 3 (1975, 2014, 2020, 2022) |
อินโดนีเซีย | 3 (1975*, 1994*, 1996) | 7 (1969, 1972, 1978, 1981, 1986*, 1998, 2008*) |
สหรัฐอเมริกา | 3 (1957, 1960*, 1963*) | 1 (1966) |
เกาหลีใต้ | 2 (2010, 2022) | 7 (1988, 1990, 1992, 2002, 2004, 2012, 2016) |
เดนมาร์ก | 3 (1957, 1960, 2000) | |
อังกฤษ | 2 (1963, 1984) | |
เนเธอร์แลนด์ | 1 (2006) | |
ไทย | 1 (2018*) |
- * = เจ้าภาพ
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Thomas -/Uber Cup history". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-10-21. สืบค้นเมื่อ 2007-07-19.
- ↑ From 1957 to 1981, Uber Cup actually played each edition for two years; the years shown here are only for the final tournament.