ฟุตบอลโลก 2022 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย – รอบที่ 1

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การแข่งขันฟุตบอลโลก 2022 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย - รอบแรก เป็นการแข่งขันฟุตบอลในทวีปเอเชียเพื่อคัดเลือกทีมฟุตบอลเข้าแข่งขันฟุตบอลโลก 2022 รอบสุดท้ายที่ประเทศกาตาร์ ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย โดยโซนเอเชียได้รับโควตาทั้งหมด 4 ทีม กับอีก 1 ทีมที่มีสิทธิ์ไปแข่งรอบเพลย์ออฟกับทีมจากโซนอื่น ๆ โซนเอเชียเริ่มแข่งขันเป็นครั้งแรกในวันที่ 6 ถึง 11 มิถุนายน พ.ศ. 2562.[1]

รูปแบบการแข่งขัน[แก้]

ทีมฟุตบอลในโซนเอเชีย 12 ทีม (ทีมอันดับ 35-46) จับคู่แข่งขันแบบ เหย้า-เยือน 2 นัด หาทีมชนะ 6 ทีมผ่านเข้าสู่รอบต่อไป

การจับคู่แข่งขัน[แก้]

Note: Bolded teams qualified for the second round.

โถ เอ โถ บี

สรุปผลการแข่งขัน[แก้]

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
มองโกเลีย ธงชาติมองโกเลีย 3–2 ธงชาติบรูไน บรูไน 2–0 1–2
มาเก๊า ธงชาติมาเก๊า 1–3[note 2] ธงชาติศรีลังกา ศรีลังกา 1–0 0–3 (awd.)
ลาว ธงชาติลาว 0–1 ธงชาติบังกลาเทศ บังกลาเทศ 0–1 0–0
มาเลเซีย ธงชาติมาเลเซีย 12–2 ธงชาติติมอร์-เลสเต ติมอร์-เลสเต 7–1 5–1
กัมพูชา ธงชาติกัมพูชา 4–1 ธงชาติปากีสถาน ปากีสถาน 2–0 2–1
ภูฏาน ธงชาติภูฏาน 1–5 ธงชาติกวม กวม 1–0 0–5


นัด[แก้]

มองโกเลีย ธงชาติมองโกเลีย2–0ธงชาติบรูไน บรูไน
Tsedenbal Goal 9'
Naranbold Goal 69'
รายงาน (เอเอฟซี)
ผู้ชม: 1,685 คน
ผู้ตัดสิน: Pranjal Banerjee (India)
บรูไน ธงชาติบรูไน2–1ธงชาติมองโกเลีย มองโกเลีย
Razimie Goal 4'34' รายงาน (เอเอฟซี) Tsedenbal Goal 47' (ลูกโทษ)
ผู้ชม: 17,210 คน
ผู้ตัดสิน: Ahmad Yacoub Ibrahim (Jordan)

รวมผลสองนัด มองโกเลีย ชนะ 3–2 และผ่านเข้าไปเล่นในรอบที่สอง.


มาเก๊า ธงชาติมาเก๊า1–0ธงชาติศรีลังกา ศรีลังกา
Duarte Goal 52' รายงาน (เอเอฟซี)
ผู้ชม: 901
ผู้ตัดสิน: Kim Dae-yong (South Korea)
ศรีลังกา ธงชาติศรีลังกา3–0
ชนะผ่าน[note 2]
ธงชาติมาเก๊า มาเก๊า
รายงาน (เอเอฟซี)

รวมผลสองนัด ศรีลังกา ชนะ 3–1 และผ่านเข้าไปเล่นในรอบที่สอง.


ลาว ธงชาติลาว0–1ธงชาติบังกลาเทศ บังกลาเทศ
รายงาน (เอเอฟซี) Ro. Hasan Goal 71'
ผู้ชม: 4,572 คน
ผู้ตัดสิน: Ho Wai Sing (Hong Kong)
บังกลาเทศ ธงชาติบังกลาเทศ0–0ธงชาติลาว ลาว
รายงาน (เอเอฟซี)
ผู้ชม: 7,453 คน
ผู้ตัดสิน: Timur Faizullin (Kyrgyzstan)

รวมผลสองนัด บังกลาเทศ ชนะ 1–0 และผ่านเข้าไปเล่นในรอบที่สอง.


ติมอร์-เลสเต ธงชาติติมอร์-เลสเต1–5ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย
Gama Goal 72' รายงาน (เอเอฟซี) Shahrel Goal 10'17'64'
Sumareh Goal 37'
Akhyar Goal 55'
ผู้ชม: 12,776 คน
ผู้ตัดสิน: Yusuke Araki (ญี่ปุ่น)

รวมผลสองนัด มาเลเซีย ชนะ 12–2 และผ่านเข้าไปเล่นในรอบที่สอง.


กัมพูชา ธงชาติกัมพูชา2–0ธงชาติปากีสถาน ปากีสถาน
Chanthea Goal 81'
Sokumpheak Goal 84'
รายงาน (เอเอฟซี)
ผู้ชม: 33,706 คน
ผู้ตัดสิน: Shaun Evans (ออสเตรเลีย)
ปากีสถาน ธงชาติปากีสถาน1–2ธงชาติกัมพูชา กัมพูชา
Bashir Goal 18' (ลูกโทษ) รายงาน (เอเอฟซี) Rosib Goal 64'
Bunheing Goal 89'
ผู้ชม: 300 คน
ผู้ตัดสิน: Hanna Hattab (ซีเรีย)

รวมผลสองนัด กัมพูชา ชนะ 4–1 และผ่านเข้าไปเล่นในรอบที่สอง.


ภูฏาน ธงชาติภูฏาน1–0ธงชาติกวม กวม
Ts. Dorji Goal 35' รายงาน (เอเอฟซี)
ผู้ชม: 8,000 คน
ผู้ตัดสิน: Omar Al-Yaqoubi (โอมาน)
กวม ธงชาติกวม5–0ธงชาติภูฏาน ภูฏาน
Lagutang Goal 23'
Cunliffe Goal 27'82'90+4'
Malcolm Goal 51'
รายงาน (เอเอฟซี)
ผู้ชม: 1,029 คน
ผู้ตัดสิน: Yu Ming-hsun (จีนไทเป)

รวมผลสองนัด กวม ชนะ 5–1 และผ่านเข้าไปเล่นในรอบที่สอง.

อันดับดาวซัลโว[แก้]

การแข่งขันทั้งหมดมี 32 ประตูที่ทำได้ใน 11 นัด, สำหรับค่าเฉลี่ย 2.91 ประตูต่อนัด.

4 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู

หมายเหตุ[แก้]

  1. Timor-Leste was barred from participating in the Asian Cup qualification after being found to have fielded a total of 12 ineligible players in 2019 AFC Asian Cup qualification matches among other competitions.[2] However, as FIFA did not barred them from the World Cup qualifiers, Timor-Leste was still allowed to enter the competition, but was ineligible to qualify for the Asian Cup.
  2. 2.0 2.1 Macau did not send their team for the second leg due to safety reasons following the 2019 Sri Lanka Easter bombings.[3] The AFC referred the matter to FIFA,[4] and FIFA announced on 27 June 2019 that the match was declared a 3–0 forfeit victory to Sri Lanka, and consequently qualifying Sri Lanka to the second round.[5]
  3. Macau played their home match against Sri Lanka in Zhuhai, China, due to ongoing maintenance of Estádio Campo Desportivo.[6]
  4. The home match of Malaysia against Timor-Leste, originally to be played on 6 June 2019, was later postponed due to Eid al-Fitr celebrations following a request from the Football Association of Malaysia.[7]
  5. Timor-Leste played their home match against Malaysia in the latter country due to a lack of a suitable venue in their country.[8]
  6. Pakistan played their home match against Cambodia in Qatar.[9]

อ้างอิง[แก้]

  1. "AFC Competitions Calendar 2019". AFC. 21 March 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-10-09. สืบค้นเมื่อ 2019-07-17.
  2. "Federação Futebol Timor-Leste expelled from AFC Asian Cup 2023". AFC. 20 January 2017.
  3. "Football - Macau not sending team to Sri Lanka due to security concerns". Reuters. 8 June 2019.
  4. "AFC Statement". AFC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-27. สืบค้นเมื่อ 10 June 2019.
  5. "FIFA Disciplinary Committee sanctions Macau Football Association". FIFA.com. 27 June 2019.
  6. "RAEM recorre a estádio de Zhuhai para receber Sri Lanka". Tribuna de Macau. 24 May 2019.
  7. "Venue for Malaysia-Timor Leste second leg confirmed". Goal.com. 10 May 2019.
  8. "Timor-Leste yet to confirm venue for 2022 FIFA World Cup Qualifiers game against Malaysia – AFC". Fox Sports Asia. 3 May 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-05-12. สืบค้นเมื่อ 2019-07-17.
  9. "Pakistan name preliminary squad for Qatar 2022 Qualifiers". Ghana Soccernet. 28 April 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]