ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โควตาดรูป"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{ระบบการลงคะแนน}} '''โควตาดรูป''' (Droop quota) เป็นโควตาที่ใช้กันทั่วไป...
 
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 10: บรรทัด 10:


==การคำนวน==
==การคำนวน==
การคำนวนที่แน่ชัดของ[[โควตาดรูป]]นั้นมีหลายแหล่ง ในสูตรคำนวนต่อไปนี้นำมาจากสาธารณรัฐไอร์แลนด์

<math display="block">\left \lfloor \frac{\text{total valid poll}}{ \text{seats}+1 } \right \rfloor + 1</math>
or
<math display="block">\operatorname{Integer} \left( \frac{\text{total valid poll}}{ \text{seats}+1 } \right) + 1</math>

โดยที่:
* <math>\text{total valid poll}</math> = จำนวนคะแนนเสียงทั้งหมด (คะแนนดี) ในการเลือกตั้ง
* <math>\text{seats}</math> = จำนวนที่นั่งที่จะต้องจัดสรรทั้งหมดในการเลือกตั้ง
* <math>\lfloor \rfloor</math> or <math>\operatorname{Integer}()</math> คือเลขจำนวนเต็ม หรือบางครั้งเขียนเป็น <math>\operatorname{floor}()</math>

[[โควตาดรูป]]นั้นคือจำนวนที่น้อยที่สุดซึ่งสามารถรับรองได้ว่าจะไม่มีจำนวนผู้สมัครจะได้รับคะแนนถึงโควตาเกินกว่าจำนวนที่นั่งที่มีอยู่ ซึ่งเป็นคุณสมบัติพิเศษของโควตานี้ ในการเลือกตั้งแบบที่หาผู้ชนะเพียงคนเดียว ซึ่งในกรณีของ[[ระบบถ่ายโอนคะแนนเสียง]]นี้จะกลายเป็น[[การลงคะแนนแบบหลายรอบในทันที|แบบหลายรอบในทันที]] (Instant run-off) โดยปริยาย และโควตาดรูปจะเท่ากับจำนวน[[คะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด]]

สูตรคำนวนนั้นคิดตามความต้องการเฉพาะที่จะต้องให้จำนวนคะแนนเสียงที่ของเหล่าผู้ชนะการเลือกตั้งได้รับนั้นจะต้องมากกว่าคะแนนเสียงทั้งหมดที่เหลืออยู่ที่ผู้สมัครที่เหลือได้รับ (โควตาดรูป – 1)


==ตัวอย่าง==
==ตัวอย่าง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:22, 21 มิถุนายน 2564

โควตาดรูป (Droop quota) เป็นโควตาที่ใช้กันทั่วไปสำหรับระบบการลงคะแนนแบบถ่ายโอนคะแนนเสียง (STV) นอกจากนี้ยังใช้กันในการเลือกตั้งระบบสัดส่วนแบบบัญชีรายชื่อซึ่งใช้วิธีเหลือเศษสูงสุดในการคำนวนจำนวนที่นั่งที่ได้รับ

ในการเลือกตั้งแบบถ่ายโอนคะแนนเสียง (STV) โควตาคือจำนวนคะแนนเสียงขั้นต่ำที่ผู้สมัครแต่ละรายจะต้องได้รับจึงจะได้รับเลือกตั้ง คะแนนเสียงส่วนที่เกินจากโควตาจะถูกถ่ายโอนไปให้ผู้สมัครรายอื่นตามที่ระบุไว้ในบัตรเลือกตั้ง โควตาดรูปคิดค้นขึ้นในปีค.ศ. 1868 โดยทนายความและนักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ เฮนรี ริชมอนด์ ดรูป (ค.ศ. 1831 – ค.ศ. 1884) เพื่อมาใช้ทดแทนโควตาแฮร์

ในปัจจุบันโควตาดรูปใช้กันอย่างแพร่หลายในการเลือกตั้งแบบถ่ายโอนคะแนนเสียงส่วนใหญ่เกือบทั้งหมด รวมถึงการเลือกตั้งแบบอื่นๆ ที่อยู่ในขอบเขตของการถ่ายโอนคะแนนเสียง ซึ่งใช้ในอินเดีย ไอร์แลนด์ ไอร์แลนด์เหนือ มอลตา และออสเตรเลีย เป็นต้น

โควตาดรูปมีความคล้ายคลึงกับโควตาฮาเกินบัค-บิชช็อฟ ซึ่งมีความเรียบง่ายกว่าในการคำนวน ซึ่งในบางกรณีจึงถูกเหมารวมว่าเป็นโควตาดรูปไปโดยปริยาย

การคำนวน

การคำนวนที่แน่ชัดของโควตาดรูปนั้นมีหลายแหล่ง ในสูตรคำนวนต่อไปนี้นำมาจากสาธารณรัฐไอร์แลนด์

or

โดยที่:

  • = จำนวนคะแนนเสียงทั้งหมด (คะแนนดี) ในการเลือกตั้ง
  • = จำนวนที่นั่งที่จะต้องจัดสรรทั้งหมดในการเลือกตั้ง
  • or คือเลขจำนวนเต็ม หรือบางครั้งเขียนเป็น

โควตาดรูปนั้นคือจำนวนที่น้อยที่สุดซึ่งสามารถรับรองได้ว่าจะไม่มีจำนวนผู้สมัครจะได้รับคะแนนถึงโควตาเกินกว่าจำนวนที่นั่งที่มีอยู่ ซึ่งเป็นคุณสมบัติพิเศษของโควตานี้ ในการเลือกตั้งแบบที่หาผู้ชนะเพียงคนเดียว ซึ่งในกรณีของระบบถ่ายโอนคะแนนเสียงนี้จะกลายเป็นแบบหลายรอบในทันที (Instant run-off) โดยปริยาย และโควตาดรูปจะเท่ากับจำนวนคะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด

สูตรคำนวนนั้นคิดตามความต้องการเฉพาะที่จะต้องให้จำนวนคะแนนเสียงที่ของเหล่าผู้ชนะการเลือกตั้งได้รับนั้นจะต้องมากกว่าคะแนนเสียงทั้งหมดที่เหลืออยู่ที่ผู้สมัครที่เหลือได้รับ (โควตาดรูป – 1)

ตัวอย่าง

การลงคะแนนแบบถ่ายโอนคะแนนเสียง

เปรียบเทียบกับโควตาแฮร์

เปรียบเทียบกับโควตาฮาเกินบัค-บิชช็อฟ

อ่านเพิ่มเติม

  • Droop, Henry Richmond (1869). On the Political and Social Effects of Different Methods of Electing Representatives. London.
  • Droop, Henry Richmond (1881). "On methods of electing representatives" (PDF). Journal of the Statistical Society of London. 44 (2): 141–196 [Discussion, 197–202]. doi:10.2307/2339223. JSTOR 2339223. Reprinted in Voting matters Issue 24 (October 2007) pp. 7–46.

อ้างอิง