ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อ็อทโท ฟ็อน บิสมาร์ค"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wedjet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Wedjet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox officeholder
{{Infobox officeholder
|name = ออทโท ฟอน บิสมาร์ค
|name = อ็อทโท ฟ็อน บิสมาร์ค
|image = Bundesarchiv Bild 146-1990-023-06A, Otto von Bismarck.jpg
|image = Bundesarchiv Bild 146-1990-023-06A, Otto von Bismarck.jpg
|caption= บิสมาร์คในปี ค.ศ. 1881
|caption= บิสมาร์คในปี ค.ศ. 1881
|order = [[นายกรัฐมนตรีเยอรมนี|นายกรัฐมนตรีแห่งจักรวรรดิเยอรมัน]]
|order = [[รายนามนายกรัฐมนตรีเยอรมนี|นายกรัฐมนตรีจักรวรรดิเยอรมัน]]
|office =
|office =
|term_start = 21 มีนาคม ค.ศ. 1871
|term_start = 21 มีนาคม ค.ศ. 1871
|term_end = 20 มีนาคม ค.ศ. 1890
|term_end = 20 มีนาคม ค.ศ. 1890
|monarch = [[จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนี|จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1]]<br/>[[จักรพรรดิฟรีดริชที่ 3 แห่งเยอรมนี|จักรพรรดิฟรีดริชที่ 3]]<br/>[[จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี|จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2]]
|monarch = [[จักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 1 แห่งเยอรมนี|จักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 1]]<br/>[[จักรพรรดิฟรีดริชที่ 3 แห่งเยอรมนี|จักรพรรดิฟรีดริชที่ 3]]<br/>[[จักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี|จักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 2]]
|deputy = ออทโท ฟอน ชโตลแบร์ก-เวอร์นีเกอร์รอเดอ<br>คาร์ล ไฮน์ริช ฟอน เบิร์ททีเคอร์
|deputy = อ็อทโท ฟ็อน ชโตลแบร์ก-เวอร์นีเกอร์รอเดอ<br>คาร์ล ไฮน์ริช ฟ็อน เบิร์ททีเคอร์
|predecessor = ตำแหน่งใหม่
|predecessor = ตำแหน่งใหม่
|successor = เลโอ ฟอน คาพรีวี
|successor = เลโอ ฟ็อน คาพรีวี
|office2 = นายกรัฐมนตรีปรัสเซีย
|office2 = มุขมนตรีแห่งปรัสเซีย
|term_start2 = 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1873
|term_start2 = 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1873
|term_end2 = 20 มีนาคม ค.ศ. 1890
|term_end2 = 20 มีนาคม ค.ศ. 1890
|monarch2 = วิลเฮล์มที่ 1<br/>ฟรีดริชที่ 3<br/>วิลเฮล์มที่ 2
|monarch2 = วิลเฮ็ล์มที่ 1<br/>ฟรีดริชที่ 3<br/>วิลเฮ็ล์มที่ 2
|predecessor2 = อัลเบรกท์ ฟอน รูน
|predecessor2 = อัลเบร็คท์ ฟ็อน รูน
|successor2 = เลโอ ฟอน คาพรีวี
|successor2 = เลโอ ฟ็อน คาพรีวี
|term_start3 = 23 กันยายน ค.ศ. 1862
|term_start3 = 23 กันยายน ค.ศ. 1862
|term_end3 = 1 มกราคม ค.ศ. 1873
|term_end3 = 1 มกราคม ค.ศ. 1873
|monarch3 = จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1
|monarch3 = จักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 1
|predecessor3 = เจ้าชายอดอล์ฟแห่งโฮเฮนโลเฮอ-อินเกิลฟินเกิน
|predecessor3 = เจ้าชายอดอล์ฟแห่งโฮเฮนโลเฮอ-อินเกิลฟินเกิน
|successor3 = อัลเบรชท์ ฟอน รูน
|successor3 = อัลเบร็คท์ ฟ็อน รูน
|office4 = นายกรัฐมนตรีสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือ
|office4 = นายกรัฐมนตรีสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือ
|term_start4 = 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1867
|term_start4 = 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1867
|term_end4 = 21 มีนาคม ค.ศ. 1871
|term_end4 = 21 มีนาคม ค.ศ. 1871
|president4 = จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1
|president4 = จักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 1
|predecessor4 = ตำแหน่งใหม่
|predecessor4 = ตำแหน่งใหม่
|successor4 = ล้มเลิกตำแหน่ง
|successor4 = ล้มเลิกตำแหน่ง
บรรทัด 31: บรรทัด 31:
|term_start5 = 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 1862
|term_start5 = 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 1862
|term_end5 = 20 มีนาคม ค.ศ. 1890
|term_end5 = 20 มีนาคม ค.ศ. 1890
|primeminister5 = ตัวเอง <br> อัลเบรชท์ ฟอน รูน
|primeminister5 = ตัวเอง <br> อัลเบรชท์ ฟ็อน รูน
|predecessor5 = อัลเบรชท์ ฟอน แบร์นชตอฟฟ
|predecessor5 = อัลเบรชท์ ฟ็อน แบร์นชตอฟฟ
|successor5 = เลโอ ฟอน คาพรีวี
|successor5 = เลโอ ฟ็อน คาพรีวี
|birth_date = 1 เมษายน ค.ศ. 1815
|birth_date = 1 เมษายน ค.ศ. 1815
|birth_place = เชินเฮาเซิน มณฑลซัคเซิน </br>{{flagicon|Prussia}} [[ราชอาณาจักรปรัสเซีย]]<br><small>([[รัฐซัคเซิน-อันฮัลท์]]ในปัจจุบัน)</small>
|birth_place = เชินเฮาเซิน มณฑลซัคเซิน <br />{{flagicon|Prussia}} [[ราชอาณาจักรปรัสเซีย]]<br><small>([[รัฐซัคเซิน-อันฮัลท์]]ในปัจจุบัน)</small>
|death_date = 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1898</br>(อายุ 83 ปี)
|death_date = 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1898<br />(อายุ 83 ปี)
|death_place = ฟรีดริชซรู [[รัฐชเลสวิช-ฮ็อลชไตน์]]</br>{{flagcountry|German Empire}}
|death_place = ฟรีดริชซรู [[รัฐชเลสวิช-ฮ็อลชไตน์]]<br />{{flagcountry|German Empire}}
|party = ไม่สังกัดพรรคการเมือง
|party = ไม่สังกัดพรรคการเมือง
|spouse = โยฮันนา ฟอน พุทท์คาเมอร์<br><small>(ค.ศ. 1847–94; เสียชีวิต)</small>
|spouse = โยฮันนา ฟ็อน พุทท์คาเมอร์<br><small>(ค.ศ. 1847–94; เสียชีวิต)</small>
|children = มารี <br> [[แฮร์แบร์ท ฟอน บิสมาร์ค]] <br> [[วิลเฮล์ม ฟอน บิสมาร์ค]]
|children = มารี <br> [[แฮร์แบร์ท ฟ็อน บิสมาร์ค]] <br> [[วิลเฮ็ล์ม ฟ็อน บิสมาร์ค]]
|religion = [[ศาสนาคริสต์]][[ลูเทอแรน|นิกายลูเทอแรน]]
|religion = [[ลูเทอแรน|คริสต์นิกายลูเทอแรน]]
|alma_mater = [[มหาวิทยาลัยเกิททิงเงิน]] <br> [[มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลิน]] <br> มหาวิทยาลัยไกร์ฟซวัลด์<ref name=Steinberg>{{cite book| authorlink=Jonathan Steinberg| last=Steinberg| first=Jonathan| title=Bismarck: A Life| url=https://books.google.de/books?id=HAppAgAAQBAJ&pg=PA51&lpg=PA51&dq=Bismarck+studied+Agriculture+in+Greifswald+in+1838.&source=bl&ots=LZikJxculW&sig=btfxmgs1TRrm3bUCMEeXS5sJAsc&hl=en&sa=X&ei=DaeiVNSeMseBU5WSgKAD&redir_esc=y#v=onepage&q=Bismarck%20studied%20Agriculture%20in%20Greifswald%20in%201838.&f=false| page=51| isbn=9780199782529}}</ref>
|alma_mater = [[มหาวิทยาลัยเกิททิงเงิน]] <br> [[มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลิน]] <br> มหาวิทยาลัยไกร์ฟซวัลด์<ref name=Steinberg>{{cite book| authorlink=Jonathan Steinberg| last=Steinberg| first=Jonathan| title=Bismarck: A Life| url=https://books.google.de/books?id=HAppAgAAQBAJ&pg=PA51&lpg=PA51&dq=Bismarck+studied+Agriculture+in+Greifswald+in+1838.&source=bl&ots=LZikJxculW&sig=btfxmgs1TRrm3bUCMEeXS5sJAsc&hl=en&sa=X&ei=DaeiVNSeMseBU5WSgKAD&redir_esc=y#v=onepage&q=Bismarck%20studied%20Agriculture%20in%20Greifswald%20in%201838.&f=false| page=51| isbn=9780199782529}}</ref>
|profession = [[นักกฎหมาย]]
|profession = [[นักกฎหมาย]]
บรรทัด 47: บรรทัด 47:
|signature = Otto vonBismarck Signature.svg
|signature = Otto vonBismarck Signature.svg
}}
}}
{{ใช้ปีคศ}}
{{ใช้ปีคศ|264px}}


'''ออทโท อีดวร์ท เลโอโพลด์ เจ้าบิสมาร์ค ดยุกเลาเอนบุร์ก''' ({{lang-de|Otto Eduard Leopold Fürst von Bismarck, Herzog zu Lauenburg}}) หรือสกุลเมื่อเกิดว่า '''ฟอน บิสมาร์ค-เชินเฮาเซิน''' ({{lang-de|von Bismarck-Schönhausen}}) '''เจ้าบิสมาร์ค ดยุกเลาเอนบุร์ก''' เป็นรัฐบุรุษ[[อนุรักษนิยม]]ชาว[[ปรัสเซีย]]ผู้ครอบงำการเมืองเยอรมันและทวีปยุโรปช่วงคริสต์ทศวรรษ 1860 ถึงปี 1890 และเป็นนายกรัฐมนตรีจักรวรรดิเยอรมันคนแรกระหว่างปี 1871 ถึง 1890
'''อ็อทโท เอดูอาร์ท เลโอพ็อลท์ ฟ็อน บิสมาร์ค-เชินเฮาเซิน''' ({{lang-de|Otto Eduard Leopold von Bismarck-Schönhausen}}) หรือที่นิยมเรียกว่า '''อ็อทโท ฟ็อน บิสมาร์ค''' เป็นรัฐบุรุษและนักการทูตแห่ง[[ราชอาณาจักรปรัสเซีย]]และ[[จักรวรรดิเยอรมัน]] เขาเป็นผู้นำทางการเมืองที่ทรงอิทธิพลที่สุดในยุโรประหว่างทศวรรษ 1860 ถึง 1890 และดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกแห่งจักรวรรดิเยอรมันระหว่าง 1871 ถึง 1890


ในปี 1862 [[จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนี|พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย]]ทรงแต่งตั้งบิสมาร์คเป็นนายกรัฐมนตรีปรัสเซีย ซึ่งเป็นตำแหน่งที่เขารั้งจนปี 1890 โดยเว้นช่วงสั้น ๆ ในปี 1873 บิสมาร์คเป็นผู้ริเริ่มสงครามแตกหักแต่กินระยะเวลาสั้น ๆ สามครั้งกับ[[สงครามชเลสวิชครั้งที่สอง|ประเทศเดนมาร์ก]] [[สงครามออสเตรีย-ปรัสเซีย|ออสเตรีย]] และ[[สงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย|ฝรั่งเศส]] ให้หลังชัยเหนือออสเตรีย เขาเลิก[[สมาพันธรัฐเยอรมัน]]เหนือชาติแล้วตั้ง[[สมาพันธรัฐเยอรมันเหนือ]]แทนเป็นรัฐชาติเยอรมันรัฐแรกในปี 1867 และเป็นนายกรัฐมนตรีสหพันธรัฐ เหตุนี้ทำให้บรรดารัฐเยอรมันเหนือขนาดเล็กกว่าเข้ากับปรัสเซีย หลังได้รับการสนับสนุนจากรัฐเยอรมันใต้อิสระเมื่อสมาพันธรัฐพิชิตฝรั่งเศส เขาก็ตั้ง[[จักรวรรดิเยอรมัน]]ในปี 1871 เป็น[[การสร้างเอกภาพเยอรมนี]]โดยมีเขาเป็นนายกรัฐมนตรีของจักรวรรดิ ขณะที่ยังควบคุมปรัสเซียไปพร้อมกันด้วย ชาติเยอรมันใหม่นี้ไม่รวมออสเตรีย ซึ่งเป็นคู่แข่งหลักของปรัสเซียในการชิงความเป็นใหญ่ในหมู่รัฐเยอรมัน
ในปี 1862 [[จักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 1 แห่งเยอรมนี|จักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย]] ทรงแต่งตั้งบิสมาร์คเป็นมุขมนตรีแห่งปรัสเซีย ซึ่งเขาดำรงตำแหน่งนี้จนถึงปี 1890 เขานำพาปรัสเซียเข้าสู่สงครามสามครั้งอันได้แก่ [[สงครามชเลสวิชครั้งที่สอง]], [[สงครามออสเตรีย-ปรัสเซีย]] และ[[สงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย]] และได้รับชัยชนะในสงครามทั้งสาม หลังชนะในสงครามกับออสเตรีย บิสมาร์คได้ยุบ[[สมาพันธรัฐเยอรมัน]]ทิ้ง และจัดตั้ง[[สมาพันธรัฐเยอรมันเหนือ]]อันมีปรัสเซียเป็นแกนนำขึ้นมาแทน ศูนย์อำนาจทางการเมืองของ[[ยุโรปภาคพื้นทวีป]]ได้ย้ายจากกรุงเวียนนาของ[[ออสเตรีย]]ไปยังกรุง[[เบอร์ลิน]]ของปรัสเซีย และเมื่อปรัสเซียมีชัยชนะเหนือฝรั่งเศสแล้ว บิสมาร์คก็ได้สถาปนาสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือขึ้นเป็นจักรวรรดิเยอรมัน โดยทูลเชิญจักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 1 ขึ้นดำรงตำแหน่งจักรพรรดิเยอรมันพระองค์แรกในปี 1871 บิสมาร์คจึงกลายเป็นทั้งหัวหน้าฝ่ายบริหารของปรัสเซียและจักรวรรดิเยอรมัน


ความสำเร็จใน[[การรวมชาติเยอรมัน]]ในปี 1871 บิสมาร์คได้ใช้ทักษะทางการทูตของเขารักษาดุลอำนาจของเยอรมันในยุโรปไว้ บิสมาร์คได้อุทิศตนเองในการพยายามรักษาสันติภาพในบรรดามหาอำนาจเป็นเวลากว่าสองทศวรรษ อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากที่เยอรมันผนวกแคว้น[[อาลซัส-ลอแรน]]มาจากฝรั่งเศส ได้จุดชนวนขบวนการชาตินิยมขึ้นในฝรั่งเศส การเรืองอำนาจของเยอรมันทำให้เกิดภาวะ "กลัวเยอรมัน" (Germanophobia) ขึ้นในฝรั่งเศส<ref>Hopel, Thomas (23 August 2012) [http://ieg-ego.eu/en/threads/crossroads/border-regions/thomas-hoepel-the-french-german-borderlands#InsertNoteID_44_marker45 "The French-German Borderlands: Borderlands and Nation-Building in the 19th and 20th Centuries"]</ref> เป็นความครุกครุ่นก่อนปะทุเป็น[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]
เมื่อประสบความสำเร็จในปี 1871 เขาใช้การทูต[[ดุลอำนาจ]]อย่างช่ำชองเพื่อธำรงฐานะของเยอรมนีในทวีปยุโรปซึ่งยังสงบอยู่แม้มีข้อพิพาทและการขู่ทำสงครามมากมาย นักประวัติศาสตร์ เอริก ฮ็อบส์บาว์ม ถือว่าบิสมาร์คคือ "ผู้ยังเป็นแชมป์โลกอย่างไร้ข้อถกเถียงเรื่องเกมหมากรุกการทูตพหุภาคีเป็นเวลาเกือบยี่สิบปีนับแต่ปี 1871 [และ] อุทิศตนโดยเฉพาะจนประสบความสำเร็จในการรักษาสันติภาพระหว่างชาติมหาอำนาจ"<ref>[[Eric Hobsbawm]], ''The Age of Empire: 1875–1914'' (1987), p. 312.</ref> ทว่า การผนวกอัลซาซ-ลอแรนของเขาเป็นเชื้อชาตินิยมฝรั่งเศสใหม่และส่งเสริมความกลัวเยอรมันในฝรั่งเศส เหตุนี้เป็นสาเหตุหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง


การทูต[[เรอัลโพลีทิค]] (realpolitik; การเมืองเชิงปฏิบัติ) ของเขา ประกอบกับอำนาจมหาศาลในปรัสเซีย ส่งผลให้บิสมาร์คได้รับสมญานามว่า "นายกรัฐมนตรีเหล็ก" [[การสร้างเอกภาพเยอรมนี]]และการเติบโตทางเศรษฐกิจอันรวดเร็วคือรากฐานของนโยบายด้านการต่างประเทศของเขา บิสมาร์คไม่นิยมชมชอบลัทธิ[[จักรวรรดินิยม]] แต่ก็ยังจัดตั้ง[[จักรวรรดิอาณานิคมเยอรมัน|จักรวรรดิอาณานิคมโพ้นทะเล]]แม้ไม่เต็มใจเนื่องจากถูทั้งฝ่ายอภิชนและสาธารณชนทั่วไปเรียกร้อง นอกจากนี้บิสมาร์คยังเล่นกลด้วยการจัดการประชุม การเจรจา และการร่วมเป็นพันธมิตรที่สอดประสานกันอย่างซับซ้อนหลายครั้ง ทั้งยังใช้ทักษะด้านการทูตในการดำรงสถานะของเยอรมนีและเพื่อถ่วงดุลอำนาจในทวีปยุโรปให้เกิดสันติสุขตลอดช่วงคริสต์ทศวรรษ 1870 และ 1880 ได้สำเร็จ
นโยบาย ''realpolitik'' ของบิสมาร์คประกอบกับบารมีที่มากล้นของเขาทำให้บิสมาร์คได้รับสมญาว่า '''นายกฯเหล็ก''' ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ก้าวกระโดดของเยอรมันถือเป็นรากฐานของนโยบายเหล่านี้ บิสมาร์คเป็นคนไม่ชอบการล่าอาณานิคมแต่เขาก็จำยอมฝืนใจต้องสร้าง[[จักรวรรดิอาณานิคมเยอรมัน]]ขึ้นจากเสียงเรียกร้องของบรรดาชนชั้นนำและมวลชนในจักรวรรดิ บิสมาร์คมีชั้นเชิงทางการทูตชนิดหาตัวจับได้ยาก เขาเล่นกลการเมืองด้วยการจัดการประชุม การเจรจา และการร่วมเป็นพันธมิตรที่สอดประสานกันอย่างซับซ้อนหลายครั้งเพื่อถ่วงดุลอำนาจในทวีปยุโรปให้เกิดสันติสุขตลอดช่วงคริสต์ทศวรรษ 1870 และ 1880 ได้สำเร็จ


ไม่เพียงด้านการทูตและการต่างประเทศเท่านั้น บิสมาร์คยังเป็นปรมาจารย์ด้านการเมืองในประเทศ เขาริเริ่ม[[รัฐสวัสดิการ]]เป็นครั้งแรกในโลกสมัยใหม่ มีเป้าหมายเพื่อดึงการสนับสนุนของมวลชนจากชนชั้นแรงงาน ซึ่งมิเช่นนั้นแล้วมวลชนเหล่านี้อาจไปเข้าร่วมกับสังคมนิยมซึ่งเป็นศัตรูของเขาได้<ref>Steinberg, 2011, pp.8, 424, 444; Bismarck specifically referred to Socialists, among others, as "Enemies of the Reich".</ref> ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1870 เขาเข้าเป็นพันธมิตรกับเสรีนิยม (ผู้นิยมอัตราภาษีศุลกากรระดับต่ำและต่อต้านคาทอลิก) และต่อสู้กับศาสนจักรคาทอลิกที่ซึ่งถูกขนานนามว่า ''คุลทูร์คัมพฟ์'' ({{lang-de|Kulturkampf}}; การต่อสู้ทางวัฒนธรรม) แต่พ่ายแพ้ โดยฝ่ายศาสนจักรตอบโต้ด้วยการจัดตั้งพรรคกลาง (Centre Party) อันทรงพลังและใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปของชายเพื่อให้ได้ที่นั่งในสภา ด้วยเหตุนี้บิสมาร์คจึงกลับลำ ล้มเลิกปฏิบัติการคุลทูร์คัมพฟ์ ตัดขาดกับฝ่ายเสรีนิยม กำหนดภาษีศุลกากรแบบคุ้มกัน และร่วมเป็นพันธมิตรทางการเมืองกับพรรคกลางเพื่อต่อกรกับฝ่าย[[สังคมนิยม]] นอกจากนี้ บิสมาร์คซึ่งเป็นผู้เลื่อมใสศรัทธาใน[[ลูเทอแรน|นิกายลูเทอแรน]]อย่างมาก จึงจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ของตนผู้ซึ่งมีทัศนะขัดแย้งกับเขา แต่ท้ายที่สุดก็ทรงโอนอ่อนและสนับสนุนเขาจากคำแนะนำของพระมเหสีและพระรัชทายาท ในขณะนั้นรัฐสภา[[ไรชส์ทาค (จักรวรรดิเยอรมัน)|ไรชส์ทาค]]มาจากเลือกตั้งแบบสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปของชาย แต่ไรชส์ทาคไม่มีอำนาจควบคุมนโยบายของรัฐบาลมากนัก บิสมาร์คไม่เชื่อในระบอบประชาธิปไตยจึงปกครองผ่านระบบข้าราชการประจำที่แข็งแกร่งและได้รับการฝึกฝนมาดีในมือของอภิชน[[ยุนเคอร์]]เดิมซึ่งประกอบด้วยชนชั้นขุนนางเจ้าของที่ดินในปรัสเซียตะวันออก ในรัชกาลพระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 เขาเป็นผู้ควบคุมกิจการในประเทศและต่างประเทศเสียเป็นส่วนใหญ่ จนเมื่อ[[จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี|จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2]] ถอดเขาจากตำแหน่งในปี 1890 เมื่อเขาอายุได้ 75 ปี
ไม่เพียงด้านการทูตและการต่างประเทศเท่านั้น บิสมาร์คยังเป็นปรมาจารย์ด้านการเมืองในประเทศ เขาริเริ่ม[[รัฐสวัสดิการ]]เป็นครั้งแรกในโลกสมัยใหม่ มีเป้าหมายเพื่อดึงการสนับสนุนของมวลชนจากชนชั้นแรงงาน ซึ่งมิเช่นนั้นแล้วมวลชนเหล่านี้อาจไปเข้าร่วมกับสังคมนิยมซึ่งเป็นศัตรูของเขาได้<ref>Steinberg, 2011, pp.8, 424, 444; Bismarck specifically referred to Socialists, among others, as "Enemies of the Reich".</ref> ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1870 เขาเข้าเป็นพันธมิตรกับเสรีนิยม (ผู้นิยมอัตราภาษีศุลกากรระดับต่ำและต่อต้านคาทอลิก) และต่อสู้กับศาสนจักรคาทอลิกที่ซึ่งถูกขนานนามว่า ''คุลทูร์คัมพฟ์'' ({{lang-de|Kulturkampf}}; การต่อสู้ทางวัฒนธรรม) แต่พ่ายแพ้ โดยฝ่ายศาสนจักรตอบโต้ด้วยการจัดตั้งพรรคกลาง (Centre Party) อันทรงพลังและใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปของชายเพื่อให้ได้ที่นั่งในสภา ด้วยเหตุนี้บิสมาร์คจึงกลับลำ ล้มเลิกปฏิบัติการคุลทูร์คัมพฟ์ ตัดขาดกับฝ่ายเสรีนิยม กำหนดภาษีศุลกากรแบบคุ้มกัน และร่วมเป็นพันธมิตรทางการเมืองกับพรรคกลางเพื่อต่อกรกับฝ่าย[[สังคมนิยม]]
บิสมาร์คเป็นผู้เลื่อมใสศรัทธาใน[[ลูเทอแรน|นิกายลูเทอแรน]]อย่างมาก จึงจงรักภักดีต่อกษัตริย์ของตนผู้ซึ่งมีทัศนะขัดแย้งกับเขา แต่ท้ายที่สุดก็ทรงโอนอ่อนและสนับสนุนเขาจากคำแนะนำของพระมเหสีและพระรัชทายาท ในขณะนั้นสภา[[ไรชส์ทาค (จักรวรรดิเยอรมัน)|ไรชส์ทาค]]มาจากเลือกตั้งแบบสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปของชายชาวเยอรมัน แต่ไรชส์ทาคไม่มีอำนาจควบคุมนโยบายของรัฐบาลมากนัก บิสมาร์คไม่เชื่อในระบอบประชาธิปไตยจึงปกครองผ่านระบบข้าราชการประจำที่แข็งแกร่งและได้รับการฝึกฝนมาดีในอุ้งมือของอภิชน[[ยุงเคอร์]]เดิมซึ่งประกอบด้วยขุนนางเจ้าที่ดินในปรัสเซียตะวันออก ในรัชกาลจักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 1 เขาเป็นผู้ควบคุมกิจการในประเทศและต่างประเทศเสียเป็นส่วนใหญ่ จนเมื่อ[[จักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี|จักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 2]] ถอดเขาจากตำแหน่งในปี 1890 เมื่อเขาอายุได้ 75 ปี
==บุคลิก==
บิสมาร์คผู้เป็นขุนนางศักดินา ''ยุนเคอร์'' มีบุคคลิกเด่น ๆ คือหัวรั้น ปากกล้า และบางครั้งเอาแต่ใจ แต่ในขณะเดียวกันก็สุภาพ มีเสน่ห์ และมีไหวพริบด้วยเช่นกัน ในบางโอกาสเขาก็เป็นคนที่มีอารมณ์รุนแรง บิสมาร์ครักษาอำนาจของเขาด้วยการเล่นละครแสดงบทบาทอ่อนไหวพร้อมขู่ว่าจะลาออกจากตำแหน่งอยู่ซ้ำ ๆ ซึ่งมักจะทำให้พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 ทรงขลาดกลัว นอกจากนี้บิสมาร์คไม่เพียงแต่มีวิสัยทัศน์เกี่ยวกับกิจการภายในและต่างประเทศอันยาวไกลเท่านั้น แต่ยังมีทักษะที่สามารถเล่นกลทางการเมืองเพื่อแทรกแซงสถานการณ์อันซับซ้อนที่กำลังดำเนินไปในระยะสั้นได้ด้วย จนกลายเป็นผู้นำที่ถูกนักประวัติศาสตร์ขนานนามว่าเป็น "ฝ่ายอนุรักษนิยมสายปฏิวัติ" (revolutionary conservatism)<ref>{{cite book| authorlink=Isabel V. Hull| last=Hull| first=Isabel V.| title=The Entourage of Kaiser Wilhelm II, 1888–1918| url=https://books.google.com/books?id=pesmqV6vskkC&printsec=frontcover#v=onepage&q&f=false| year=2004| page=85| isbn=9780521533218}}</ref> สำหรับนักชาตินิยมเยอรมัน บิสมาร์คคือวีรบุรุษของพวกเขา มีการจัดสร้างอนุสาวรีย์ของบิสมาร์คหลายแห่งเพื่อเชิดชูเกียรติผู้ก่อตั้ง ''จักรวรรดิไรซ์'' ยุคใหม่ นักประวัติศาสตร์หลายคนเองก็ชื่นชมเขาในฐานะผู้มีวิสัยทัศน์ไกล ผู้ซึ่งมีส่วนสำคัญในการรวมเยอรมนีให้เป็นหนึ่งเดียวและช่วยให้ยุโรปดำรงสันติภาพเอาไว้ได้ผ่านการทูตอันชาญฉลาดของเขา
บิสมาร์คผู้เป็นขุนนางศักดินา ''ยุงเคอร์'' มีบุคคลิกเด่น ๆ คือหัวรั้น ปากกล้า และบางครั้งเอาแต่ใจ แต่ในขณะเดียวกันก็สุภาพ มีเสน่ห์ และมีไหวพริบด้วยเช่นกัน ในบางโอกาสเขาก็เป็นคนที่มีอารมณ์รุนแรง บิสมาร์ครักษาอำนาจของเขาด้วยการเล่นละครแสดงบทบาทอ่อนไหวพร้อมขู่ว่าจะลาออกจากตำแหน่งอยู่ซ้ำ ๆ ซึ่งมักจะทำให้จักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 1 ทรงเกรงกลัว นอกจากนี้บิสมาร์คไม่เพียงแต่มีวิสัยทัศน์เกี่ยวกับกิจการภายในและต่างประเทศอันยาวไกลเท่านั้น แต่ยังมีทักษะที่สามารถเล่นกลทางการเมืองเพื่อแทรกแซงสถานการณ์อันซับซ้อนที่กำลังดำเนินไปในระยะสั้นได้ด้วย จนกลายเป็นผู้นำที่ถูกนักประวัติศาสตร์ขนานนามว่าเป็น "ฝ่ายอนุรักษนิยมสายปฏิวัติ" (revolutionary conservatism)<ref>{{cite book| authorlink=Isabel V. Hull| last=Hull| first=Isabel V.| title=The Entourage of Kaiser Wilhelm II, 1888–1918| url=https://books.google.com/books?id=pesmqV6vskkC&printsec=frontcover#v=onepage&q&f=false| year=2004| page=85| isbn=9780521533218}}</ref> สำหรับนักชาตินิยมเยอรมัน บิสมาร์คคือวีรบุรุษของพวกเขา มีการจัดสร้างอนุสาวรีย์ของบิสมาร์คหลายแห่งเพื่อเชิดชูเกียรติผู้ก่อตั้ง ''[[ไรซ์]]'' ยุคใหม่ นักประวัติศาสตร์หลายคนเองก็ชื่นชมเขาในฐานะผู้มีวิสัยทัศน์ไกล ผู้ซึ่งมีส่วนสำคัญในการรวมเยอรมนีให้เป็นหนึ่งเดียวและช่วยให้ยุโรปดำรงสันติภาพเอาไว้ได้ผ่านการทูตอันชาญฉลาดของเขา
==บรรดาศักดิ์==
{| class="wikitable"
|-
|[[ภาพ:Bismarcks Wappen.gif|center|150px]] || rowspan = "2" |
*'''ค.ศ. 1815 – 1865''' : ยุงเคอร์ อ็อทโท ฟ็อน บิสมาร์ค
*'''ค.ศ. 1865 – 1871''' : [[เคานต์|กราฟ]] ฟ็อน บิสมาร์ค-เชินเฮาเซิน
*'''ค.ศ. 1871 – 1890''' : [[เฟือสท์]] ฟ็อน บิสมาร์ค
*'''ค.ศ. 1890 – 1898''' : เฟือสท์ ฟ็อน บิสมาร์ค, [[แฮร์ซอก]] ซู เลาเอินบวร์ค
| rowspan = "2" |[[ภาพ:Otto+von+bismarck.jpg|center|150px]]
|-
| align = "center" | '''อาร์มประจำตัว'''
|}

บิสมาร์คได้รับบรรดาศักดิ์ ''กราฟ ฟ็อน บิสมาร์ค-เชินเฮาเซิน'' (''Graf von Bismarck-Schönhausen'') ในปีค.ศ. 1865 ลูกหลานเพศชายของบิสมาร์คทุกคนจะมีบรรดาศักดิ์นี้ ต่อมาในปีค.ศ. 1871 เขาได้รับการเลื่อนบรรดาศักดิ์เป็น ''เฟือสท์ ฟ็อน บิสมาร์ค'' (''Fürst von Bismarck'') ซึ่งเป็นการยกฐานันดรจากขุนนางขึ้นเป็น[[ชนชั้นเจ้า|เจ้า]] (''Prinz'') บรรดาศักดิ์เฟือสท์นี้จะตกและสืบทอดในสายทายาทชายคนโตเท่านั้น [[เลาเอินบวร์ค]]เป็นอดีตแคว้นของ[[ปรัสเซีย]] บิสมาร์คได้ทูลขอไกเซอร์วิลเฮ็ล์มที่ 1 ให้ทรงยกอำนาจปกครองเลาเอินบวร์คให้แก่เขาเพื่อตอบแทนคุณความดีที่เขาทุ่มเทเพื่อราชวงศ์และจักรวรรดิ แต่องค์ไกเซอร์เห็นว่าบิสมาร์คเหมือนจะพยายามรื้อพื้นระบอบแว่นแคว้นดังเช่นใน[[สมัยกลาง]] และยังทรงดำริว่ารางวัลที่ทรงมอบให้บิสมาร์คนั้นมากเกินพอแล้ว เมื่อบิสมาร์คถูกบีบบังคับให้ลาออกในปี ค.ศ. 1890 เขาได้รับพระราชทานยศ ''แฮร์ซอก ซู เลาเอินบวร์ค'' (''Herzog zu Lauenburg'') ตำแหน่งดยุกที่เขาได้รับนั้นเป็นตำแหน่งที่ตั้งเป็นเกียรติยศเท่านั้น ไม่มีอำนาจปกครองแคว้นเช่นในอดีต สร้างความขุ่นเคืองแก่บิสมาร์คไม่น้อย<ref>{{cite news |author="A Veteran Diplomat"|title=The "Mediatized" – or the "High Nobility" of Europe; Consisting of Something Like Fifty families Which Enjoyed Petty Sovereignty Before the Holy Roman Empire's Overthrow, They Still Exercise Certain Special Privileges Mixed with Unusual Restrictions|url=https://query.nytimes.com/gst/abstract.html?res=F30613FC3C5D16738DDDAE0A94D1405B888CF1D3 |newspaper=[[The New York Times]] |date=27 September 1908}}</ref>


== บรรดาศักดิ์ ==
*'''ค.ศ. 1865 – 1871''' : กราฟ ฟอน บิสมาร์ค-เชินเฮาเซิน (Graf von Bismarck-Schönhausen) เทียบเท่า[[เคานต์]]
*'''ค.ศ. 1871 – 1898''' : [[เฟือสท์]] ฟอน บิสมาร์ค (Fürst von Bismarck) เทียบเท่า[[เจ้าชาย]]
*'''ค.ศ. 1890 – 1898''' : [[แฮร์ซอก]] ซู เลาเอินบวร์ค (Herzog zu Lauenburg) เทียบเท่า[[ดยุก]]
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:01, 12 กรกฎาคม 2562

อ็อทโท ฟ็อน บิสมาร์ค
บิสมาร์คในปี ค.ศ. 1881
นายกรัฐมนตรีจักรวรรดิเยอรมัน
ดำรงตำแหน่ง
21 มีนาคม ค.ศ. 1871 – 20 มีนาคม ค.ศ. 1890
กษัตริย์จักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 1
จักรพรรดิฟรีดริชที่ 3
จักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 2
รองอ็อทโท ฟ็อน ชโตลแบร์ก-เวอร์นีเกอร์รอเดอ
คาร์ล ไฮน์ริช ฟ็อน เบิร์ททีเคอร์
ก่อนหน้าตำแหน่งใหม่
ถัดไปเลโอ ฟ็อน คาพรีวี
มุขมนตรีแห่งปรัสเซีย
ดำรงตำแหน่ง
9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1873 – 20 มีนาคม ค.ศ. 1890
กษัตริย์วิลเฮ็ล์มที่ 1
ฟรีดริชที่ 3
วิลเฮ็ล์มที่ 2
ก่อนหน้าอัลเบร็คท์ ฟ็อน รูน
ถัดไปเลโอ ฟ็อน คาพรีวี
ดำรงตำแหน่ง
23 กันยายน ค.ศ. 1862 – 1 มกราคม ค.ศ. 1873
กษัตริย์จักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 1
ก่อนหน้าเจ้าชายอดอล์ฟแห่งโฮเฮนโลเฮอ-อินเกิลฟินเกิน
ถัดไปอัลเบร็คท์ ฟ็อน รูน
นายกรัฐมนตรีสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือ
ดำรงตำแหน่ง
1 กรกฎาคม ค.ศ. 1867 – 21 มีนาคม ค.ศ. 1871
ประธานาธิบดีจักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 1
ก่อนหน้าตำแหน่งใหม่
ถัดไปล้มเลิกตำแหน่ง
รัฐมนตรีการต่างประเทศปรัสเซีย
ดำรงตำแหน่ง
23 พฤศจิกายน ค.ศ. 1862 – 20 มีนาคม ค.ศ. 1890
นายกรัฐมนตรีตัวเอง
อัลเบรชท์ ฟ็อน รูน
ก่อนหน้าอัลเบรชท์ ฟ็อน แบร์นชตอฟฟ
ถัดไปเลโอ ฟ็อน คาพรีวี
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด1 เมษายน ค.ศ. 1815
เชินเฮาเซิน มณฑลซัคเซิน
ราชอาณาจักรปรัสเซีย ราชอาณาจักรปรัสเซีย
(รัฐซัคเซิน-อันฮัลท์ในปัจจุบัน)
เสียชีวิต30 กรกฎาคม ค.ศ. 1898
(อายุ 83 ปี)
ฟรีดริชซรู รัฐชเลสวิช-ฮ็อลชไตน์
 เยอรมนี
ศาสนาคริสต์นิกายลูเทอแรน
พรรคการเมืองไม่สังกัดพรรคการเมือง
คู่สมรสโยฮันนา ฟ็อน พุทท์คาเมอร์
(ค.ศ. 1847–94; เสียชีวิต)
บุตรมารี
แฮร์แบร์ท ฟ็อน บิสมาร์ค
วิลเฮ็ล์ม ฟ็อน บิสมาร์ค
ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยเกิททิงเงิน
มหาวิทยาลัยฮุมโบลท์แห่งเบอร์ลิน
มหาวิทยาลัยไกร์ฟซวัลด์[1]
วิชาชีพนักกฎหมาย
ลายมือชื่อ

อ็อทโท เอดูอาร์ท เลโอพ็อลท์ ฟ็อน บิสมาร์ค-เชินเฮาเซิน (เยอรมัน: Otto Eduard Leopold von Bismarck-Schönhausen) หรือที่นิยมเรียกว่า อ็อทโท ฟ็อน บิสมาร์ค เป็นรัฐบุรุษและนักการทูตแห่งราชอาณาจักรปรัสเซียและจักรวรรดิเยอรมัน เขาเป็นผู้นำทางการเมืองที่ทรงอิทธิพลที่สุดในยุโรประหว่างทศวรรษ 1860 ถึง 1890 และดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกแห่งจักรวรรดิเยอรมันระหว่าง 1871 ถึง 1890

ในปี 1862 จักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ทรงแต่งตั้งบิสมาร์คเป็นมุขมนตรีแห่งปรัสเซีย ซึ่งเขาดำรงตำแหน่งนี้จนถึงปี 1890 เขานำพาปรัสเซียเข้าสู่สงครามสามครั้งอันได้แก่ สงครามชเลสวิชครั้งที่สอง, สงครามออสเตรีย-ปรัสเซีย และสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย และได้รับชัยชนะในสงครามทั้งสาม หลังชนะในสงครามกับออสเตรีย บิสมาร์คได้ยุบสมาพันธรัฐเยอรมันทิ้ง และจัดตั้งสมาพันธรัฐเยอรมันเหนืออันมีปรัสเซียเป็นแกนนำขึ้นมาแทน ศูนย์อำนาจทางการเมืองของยุโรปภาคพื้นทวีปได้ย้ายจากกรุงเวียนนาของออสเตรียไปยังกรุงเบอร์ลินของปรัสเซีย และเมื่อปรัสเซียมีชัยชนะเหนือฝรั่งเศสแล้ว บิสมาร์คก็ได้สถาปนาสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือขึ้นเป็นจักรวรรดิเยอรมัน โดยทูลเชิญจักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 1 ขึ้นดำรงตำแหน่งจักรพรรดิเยอรมันพระองค์แรกในปี 1871 บิสมาร์คจึงกลายเป็นทั้งหัวหน้าฝ่ายบริหารของปรัสเซียและจักรวรรดิเยอรมัน

ความสำเร็จในการรวมชาติเยอรมันในปี 1871 บิสมาร์คได้ใช้ทักษะทางการทูตของเขารักษาดุลอำนาจของเยอรมันในยุโรปไว้ บิสมาร์คได้อุทิศตนเองในการพยายามรักษาสันติภาพในบรรดามหาอำนาจเป็นเวลากว่าสองทศวรรษ อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากที่เยอรมันผนวกแคว้นอาลซัส-ลอแรนมาจากฝรั่งเศส ได้จุดชนวนขบวนการชาตินิยมขึ้นในฝรั่งเศส การเรืองอำนาจของเยอรมันทำให้เกิดภาวะ "กลัวเยอรมัน" (Germanophobia) ขึ้นในฝรั่งเศส[2] เป็นความครุกครุ่นก่อนปะทุเป็นสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

นโยบาย realpolitik ของบิสมาร์คประกอบกับบารมีที่มากล้นของเขาทำให้บิสมาร์คได้รับสมญาว่า นายกฯเหล็ก ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ก้าวกระโดดของเยอรมันถือเป็นรากฐานของนโยบายเหล่านี้ บิสมาร์คเป็นคนไม่ชอบการล่าอาณานิคมแต่เขาก็จำยอมฝืนใจต้องสร้างจักรวรรดิอาณานิคมเยอรมันขึ้นจากเสียงเรียกร้องของบรรดาชนชั้นนำและมวลชนในจักรวรรดิ บิสมาร์คมีชั้นเชิงทางการทูตชนิดหาตัวจับได้ยาก เขาเล่นกลการเมืองด้วยการจัดการประชุม การเจรจา และการร่วมเป็นพันธมิตรที่สอดประสานกันอย่างซับซ้อนหลายครั้งเพื่อถ่วงดุลอำนาจในทวีปยุโรปให้เกิดสันติสุขตลอดช่วงคริสต์ทศวรรษ 1870 และ 1880 ได้สำเร็จ

ไม่เพียงด้านการทูตและการต่างประเทศเท่านั้น บิสมาร์คยังเป็นปรมาจารย์ด้านการเมืองในประเทศ เขาริเริ่มรัฐสวัสดิการเป็นครั้งแรกในโลกสมัยใหม่ มีเป้าหมายเพื่อดึงการสนับสนุนของมวลชนจากชนชั้นแรงงาน ซึ่งมิเช่นนั้นแล้วมวลชนเหล่านี้อาจไปเข้าร่วมกับสังคมนิยมซึ่งเป็นศัตรูของเขาได้[3] ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1870 เขาเข้าเป็นพันธมิตรกับเสรีนิยม (ผู้นิยมอัตราภาษีศุลกากรระดับต่ำและต่อต้านคาทอลิก) และต่อสู้กับศาสนจักรคาทอลิกที่ซึ่งถูกขนานนามว่า คุลทูร์คัมพฟ์ (เยอรมัน: Kulturkampf; การต่อสู้ทางวัฒนธรรม) แต่พ่ายแพ้ โดยฝ่ายศาสนจักรตอบโต้ด้วยการจัดตั้งพรรคกลาง (Centre Party) อันทรงพลังและใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปของชายเพื่อให้ได้ที่นั่งในสภา ด้วยเหตุนี้บิสมาร์คจึงกลับลำ ล้มเลิกปฏิบัติการคุลทูร์คัมพฟ์ ตัดขาดกับฝ่ายเสรีนิยม กำหนดภาษีศุลกากรแบบคุ้มกัน และร่วมเป็นพันธมิตรทางการเมืองกับพรรคกลางเพื่อต่อกรกับฝ่ายสังคมนิยม

บิสมาร์คเป็นผู้เลื่อมใสศรัทธาในนิกายลูเทอแรนอย่างมาก จึงจงรักภักดีต่อกษัตริย์ของตนผู้ซึ่งมีทัศนะขัดแย้งกับเขา แต่ท้ายที่สุดก็ทรงโอนอ่อนและสนับสนุนเขาจากคำแนะนำของพระมเหสีและพระรัชทายาท ในขณะนั้นสภาไรชส์ทาคมาจากเลือกตั้งแบบสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปของชายชาวเยอรมัน แต่ไรชส์ทาคไม่มีอำนาจควบคุมนโยบายของรัฐบาลมากนัก บิสมาร์คไม่เชื่อในระบอบประชาธิปไตยจึงปกครองผ่านระบบข้าราชการประจำที่แข็งแกร่งและได้รับการฝึกฝนมาดีในอุ้งมือของอภิชนยุงเคอร์เดิมซึ่งประกอบด้วยขุนนางเจ้าที่ดินในปรัสเซียตะวันออก ในรัชกาลจักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 1 เขาเป็นผู้ควบคุมกิจการในประเทศและต่างประเทศเสียเป็นส่วนใหญ่ จนเมื่อจักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 2 ถอดเขาจากตำแหน่งในปี 1890 เมื่อเขาอายุได้ 75 ปี

บุคลิก

บิสมาร์คผู้เป็นขุนนางศักดินา ยุงเคอร์ มีบุคคลิกเด่น ๆ คือหัวรั้น ปากกล้า และบางครั้งเอาแต่ใจ แต่ในขณะเดียวกันก็สุภาพ มีเสน่ห์ และมีไหวพริบด้วยเช่นกัน ในบางโอกาสเขาก็เป็นคนที่มีอารมณ์รุนแรง บิสมาร์ครักษาอำนาจของเขาด้วยการเล่นละครแสดงบทบาทอ่อนไหวพร้อมขู่ว่าจะลาออกจากตำแหน่งอยู่ซ้ำ ๆ ซึ่งมักจะทำให้จักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 1 ทรงเกรงกลัว นอกจากนี้บิสมาร์คไม่เพียงแต่มีวิสัยทัศน์เกี่ยวกับกิจการภายในและต่างประเทศอันยาวไกลเท่านั้น แต่ยังมีทักษะที่สามารถเล่นกลทางการเมืองเพื่อแทรกแซงสถานการณ์อันซับซ้อนที่กำลังดำเนินไปในระยะสั้นได้ด้วย จนกลายเป็นผู้นำที่ถูกนักประวัติศาสตร์ขนานนามว่าเป็น "ฝ่ายอนุรักษนิยมสายปฏิวัติ" (revolutionary conservatism)[4] สำหรับนักชาตินิยมเยอรมัน บิสมาร์คคือวีรบุรุษของพวกเขา มีการจัดสร้างอนุสาวรีย์ของบิสมาร์คหลายแห่งเพื่อเชิดชูเกียรติผู้ก่อตั้ง ไรซ์ ยุคใหม่ นักประวัติศาสตร์หลายคนเองก็ชื่นชมเขาในฐานะผู้มีวิสัยทัศน์ไกล ผู้ซึ่งมีส่วนสำคัญในการรวมเยอรมนีให้เป็นหนึ่งเดียวและช่วยให้ยุโรปดำรงสันติภาพเอาไว้ได้ผ่านการทูตอันชาญฉลาดของเขา

บรรดาศักดิ์

  • ค.ศ. 1815 – 1865 : ยุงเคอร์ อ็อทโท ฟ็อน บิสมาร์ค
  • ค.ศ. 1865 – 1871 : กราฟ ฟ็อน บิสมาร์ค-เชินเฮาเซิน
  • ค.ศ. 1871 – 1890 : เฟือสท์ ฟ็อน บิสมาร์ค
  • ค.ศ. 1890 – 1898 : เฟือสท์ ฟ็อน บิสมาร์ค, แฮร์ซอก ซู เลาเอินบวร์ค
อาร์มประจำตัว

บิสมาร์คได้รับบรรดาศักดิ์ กราฟ ฟ็อน บิสมาร์ค-เชินเฮาเซิน (Graf von Bismarck-Schönhausen) ในปีค.ศ. 1865 ลูกหลานเพศชายของบิสมาร์คทุกคนจะมีบรรดาศักดิ์นี้ ต่อมาในปีค.ศ. 1871 เขาได้รับการเลื่อนบรรดาศักดิ์เป็น เฟือสท์ ฟ็อน บิสมาร์ค (Fürst von Bismarck) ซึ่งเป็นการยกฐานันดรจากขุนนางขึ้นเป็นเจ้า (Prinz) บรรดาศักดิ์เฟือสท์นี้จะตกและสืบทอดในสายทายาทชายคนโตเท่านั้น เลาเอินบวร์คเป็นอดีตแคว้นของปรัสเซีย บิสมาร์คได้ทูลขอไกเซอร์วิลเฮ็ล์มที่ 1 ให้ทรงยกอำนาจปกครองเลาเอินบวร์คให้แก่เขาเพื่อตอบแทนคุณความดีที่เขาทุ่มเทเพื่อราชวงศ์และจักรวรรดิ แต่องค์ไกเซอร์เห็นว่าบิสมาร์คเหมือนจะพยายามรื้อพื้นระบอบแว่นแคว้นดังเช่นในสมัยกลาง และยังทรงดำริว่ารางวัลที่ทรงมอบให้บิสมาร์คนั้นมากเกินพอแล้ว เมื่อบิสมาร์คถูกบีบบังคับให้ลาออกในปี ค.ศ. 1890 เขาได้รับพระราชทานยศ แฮร์ซอก ซู เลาเอินบวร์ค (Herzog zu Lauenburg) ตำแหน่งดยุกที่เขาได้รับนั้นเป็นตำแหน่งที่ตั้งเป็นเกียรติยศเท่านั้น ไม่มีอำนาจปกครองแคว้นเช่นในอดีต สร้างความขุ่นเคืองแก่บิสมาร์คไม่น้อย[5]

อ้างอิง

  1. Steinberg, Jonathan. Bismarck: A Life. p. 51. ISBN 9780199782529.
  2. Hopel, Thomas (23 August 2012) "The French-German Borderlands: Borderlands and Nation-Building in the 19th and 20th Centuries"
  3. Steinberg, 2011, pp.8, 424, 444; Bismarck specifically referred to Socialists, among others, as "Enemies of the Reich".
  4. Hull, Isabel V. (2004). The Entourage of Kaiser Wilhelm II, 1888–1918. p. 85. ISBN 9780521533218.
  5. "A Veteran Diplomat" (27 September 1908). "The "Mediatized" – or the "High Nobility" of Europe; Consisting of Something Like Fifty families Which Enjoyed Petty Sovereignty Before the Holy Roman Empire's Overthrow, They Still Exercise Certain Special Privileges Mixed with Unusual Restrictions". The New York Times.