ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ผช. นวนนท์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขที่ 8338881 สร้างโดย ผช. นวนนท์ (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{infobox royalty
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
| image = ไฟล์:Kaviloros Suriyavongse.jpg
| สีพิเศษ = #ffcc00
| death_style = พิราลัย
| สีอักษร = #8f5f12
| death_date = 29 มิถุนายน พ.ศ. 2413
| ภาพ = ไฟล์:Kaviloros Suriyavongse.jpg
| succession = เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่
| พระนามาภิไธย =
| reign = '''เจ้านครเชียงใหม่''' <br >16 ตุลาคม พ.ศ. 2399 - 2404 <br/ >'''พระเจ้านครเชียงใหม่'''<br > พ.ศ. 2404 - 29 มิถุนายน พ.ศ. 2413
| พระนาม = พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์
| predecessor = [[พระเจ้ามโหตรประเทศ]]
| ราชสมภพ =
| successor = [[พระเจ้าอินทวิชยานนท์]]
| วันพิราลัย = [[29 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2413]]
| พระอิสริยยศ = พระเจ้าเชียงใหม่
| father1 = [[พระเจ้ากาวิละ]]
| mother1 = [[แม่เจ้าจันทาราชเทวี]]
| พระบิดา = [[พระเจ้ากาวิละ]]
| spouse-type = พระชายา
| พระมารดา = [[แม่เจ้าจันทาราชเทวี]]
| พระชายา = [[เจ้าอุษา]]
| spouse = [[เจ้าอุษา]]
| พระโอรส/ธิดา = [[เจ้าทิพเกสร]]<br>[[เจ้าอุบลวรรณา]]
| issue1 = [[เจ้าทิพเกสร]]<br>[[เจ้าอุบลวรรณา]]
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์ทิพย์จักร|ทิพย์จักร]]
| dynasty = [[ราชวงศ์ทิพย์จักร|ทิพย์จักร]]
| ทรงราชย์ = [[พ.ศ. 2397]] - [[29 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2413]]
| พิธีบรมราชาภิเษก =
| ระยะเวลาครองราชย์ = 16 ปี
| รัชกาลก่อนหน้า = [[พระเจ้ามโหตรประเทศ]]
| รัชกาลถัดมา = [[พระเจ้าอินทวิชยานนท์]]
}}
}}
'''พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์''' เป็น[[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่|เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่]] องค์ที่ 6 แห่ง[[ราชวงศ์ทิพย์จักร]]<ref>รุ่งพงษ์ ชัยนาม. '''ประวัติศาสตร์ล้านนา : ประวัติศาสตร์ไทยที่คนไทยไม่ค่อยมีโกาสได้ศึกษา'''. [[มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช]]</ref> ด้วยพระนิสัยที่เด็ดขาดเป็นที่เคารพยำเกรงในหมู่ข้าราชบริพารและพสกนิกร เมื่อทรงพิจารณาตัดสินว่าคดีความใดแล้ว หากทรงเอ่ยว่า "อ้าว" เมื่อใด หมายถึงการต้องโทษตัดศีรษะประหารชีวิต จนประชาชนทั่วไปต่างถวายพระสมัญญาว่า "เจ้าชีวิตอ้าว"<ref name="อดีตลานนา">บุญเสริม ศาสตราภัย และสังคีต จันทนะโพธิ. (2520) '''อดีตลานนา''' กรุงเทพฯ : กรุงสยามการพิมพ์</ref> ในแง่พฤติการณ์แล้ว พระองค์ถือเป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ที่ทรงอำนาจมากที่สุดในบรรดาทุกองค์
'''พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์''' เป็น[[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่|เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่]] องค์ที่ 6 แห่ง[[ราชวงศ์ทิพย์จักร]]<ref>รุ่งพงษ์ ชัยนาม. '''ประวัติศาสตร์ล้านนา : ประวัติศาสตร์ไทยที่คนไทยไม่ค่อยมีโกาสได้ศึกษา'''. [[มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช]]</ref> ด้วยพระนิสัยที่เด็ดขาดเป็นที่เคารพยำเกรงในหมู่ข้าราชบริพารและพสกนิกร เมื่อทรงพิจารณาตัดสินว่าคดีความใดแล้ว หากทรงเอ่ยว่า "อ้าว" เมื่อใด หมายถึงการต้องโทษตัดศีรษะประหารชีวิต จนประชาชนทั่วไปต่างถวายพระสมัญญาว่า "เจ้าชีวิตอ้าว"<ref name="อดีตลานนา">บุญเสริม ศาสตราภัย และสังคีต จันทนะโพธิ. (2520) '''อดีตลานนา''' กรุงเทพฯ : กรุงสยามการพิมพ์</ref> ในแง่พฤติการณ์แล้ว พระองค์ถือเป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ที่ทรงอำนาจมากที่สุดในบรรดาทุกองค์
== พระเกียรติยศ ==
{{กล่องข้อมูล พระยศ
|พระนาม = พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์
|ตราแผ่นดิน =
|ธงพระยศ =
|ตราพระยศ =
|ธงประจำพระองค์ =
|ตราประจำพระองค์ =
|การทูล = ฝ่าพระบาทเจ้า
|การแทนตน = ข้าพเจ้า/หม่อมฉัน
|การขานรับ = พระเจ้าข้า/เพคะ
|ลำดับโปเจียม = 1 (ฝ่ายเหนือ)
}}


== พระประวัติ ==
== พระประวัติ ==
บรรทัด 40: บรรทัด 22:
# '''เจ้าราชบุตร (สุริยฆาต ณ เชียงใหม่)''' - เจ้าไปยกา (ตาทวด) ของ[[หม่อมทิพวัน กฤดากร ณ อยุธยา]] และ[[หม่อมศรีนวล กฤดากร ณ อยุธยา]] ในพลเอก [[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช]]
# '''เจ้าราชบุตร (สุริยฆาต ณ เชียงใหม่)''' - เจ้าไปยกา (ตาทวด) ของ[[หม่อมทิพวัน กฤดากร ณ อยุธยา]] และ[[หม่อมศรีนวล กฤดากร ณ อยุธยา]] ในพลเอก [[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช]]
# '''พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์''' เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 6
# '''พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์''' เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 6
# '''เจ้าหนานมหาวงศ์''' - พระอัยกา (เจ้าปู่) ใน[[เจ้าจอมมารดาทิพเกษร ในรัชกาลที่ 5]] และ พระไปยกา (เจ้าตาทวด) ใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ กรมหมื่นสรรควิสัยนรบดี]]
# '''เจ้าหนานมหาวงศ์''' - พระอัยกา (เจ้าปู่) ใน[[เจ้าจอมมารดาทิพเกษร ในรัชกาลที่ 5]] และ พระไปยกา (เจ้าตาทวด) ใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นสรรควิไสยนรบดี]]
# '''เจ้าคำใส'''
# '''เจ้าคำใส'''
# '''เจ้าหนานไชยเสนา'''
# '''เจ้าหนานไชยเสนา'''


'''พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์''' เสด็จขึ้นครองนครเชียงใหม่ ใน [[พ.ศ. 2397]] จนกระทั่งถึงแก่พิราลัยในวันที่ [[29 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2413]] รวมระยะเวลาที่ทรงครองนคร 16 ปี
'''พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์''' เสด็จขึ้นครองนครเชียงใหม่ ใน [[พ.ศ. 2397]] จนกระทั่งถึงแก่พิราลัยในวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2413 รวมระยะเวลาที่ทรงครองนคร 16 ปี


== พระธิดา ==
== พระธิดา ==
พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์ มีพระธิดากับ[[เจ้าอุษา|แม่เจ้าอุษาเทวี]] รวม 2 องค์ ดังนี้
พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์ มีพระธิดากับ[[เจ้าอุษา|แม่เจ้าอุษาเทวี]] รวม 2 องค์ ดังนี้
# '''[[เจ้าทิพเกสร]]''' - พระชายาใน[[พระเจ้าอินทวิชยานนท์]] และเป็นพระมารดาใน[[เจ้าดารารัศมี พระราชชายา]]ใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
# '''[[เจ้าทิพเกสร]]''' - พระชายาใน[[พระเจ้าอินทวิชยานนท์]] และเป็นพระมารดาใน[[เจ้าดารารัศมี พระราชชายา]]ใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
# '''[[เจ้าอุบลวรรณา]]''' - เจ้าแม่ของเจ้ากรรณิการ์ พระอัยยิกา (เจ้าย่า) ใน[[เจ้าศิริมา ณ เชียงใหม่]] พระชายาใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ กรมหมื่นสรรควิสัยนรบดี]]
# '''[[เจ้าอุบลวรรณา]]''' - เจ้าแม่ของเจ้ากรรณิการ์ พระอัยยิกา (เจ้าย่า) ใน[[เจ้าศิริมา ณ เชียงใหม่]] พระชายาใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นสรรควิไสยนรบดี]]


== ราชกรณียกิจ ==
== ราชกรณียกิจ ==
บรรทัด 82: บรรทัด 64:
|2= [[พระเจ้ากาวิละ]]
|2= [[พระเจ้ากาวิละ]]
|3= แม่เจ้าโนจาราชเทวี
|3= แม่เจ้าโนจาราชเทวี
|4= [[เจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว]]
|4= [[เจ้าฟ้าสิงหาราชธานีเจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว]]
|5= แม่เจ้าจันทาราชเทวี
|5= แม่เจ้าจันทาราชเทวี
|6=
|6=
บรรทัด 116: บรรทัด 98:
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* ปราณี ศิริธร ณ พัทลุง. '''เพ็ชร์ล้านนา'''. (ครั้งที่ 2) เชียงใหม่ :ผู้จัดการ ศูนย์ภาคเหนือ, 2538.
* เจ้าวงศ์สัก ณ เชียงใหม่, คณะทายาทสายสกุล ณ เชียงใหม่. '''เจ้าหลวงเชียงใหม่'''. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), 2539.
* นงเยาว์ กาญจนจารี. '''ดารารัศมี : พระประวัติพระราชชายา เจ้าดารารัศมี'''. เชียงใหม่ :สุริวงศ์บุ๊คเซนเตอร์, 2539.
* คัมภีร์ คัมภีรญาณนนท์, นาวาอากาศเอก. '''เจ้านายฝ่ายเหนือ'''. [http://www.globalgroup.in.th/encyclopedia_lanna.html]
* ''ประชุมพงศาวดารภาคที่ 3'' "เรื่อง พงศาวดารเมืองนครเชียงใหม่ เมืองนครลำปาง เมืองลำพูนไชย"


{{เริ่มกล่อง}}
{{เริ่มกล่อง}}
บรรทัด 128: บรรทัด 104:
| ตำแหน่ง = [[เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่]]
| ตำแหน่ง = [[เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่]]
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์ทิพย์จักร]]
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์ทิพย์จักร]]
| ปี = [[พ.ศ. 2399]] - [[29 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2413]]
| ปี = พ.ศ. 2399 - 29 มิถุนายน พ.ศ. 2413
| ถัดไป = [[พระเจ้าอินทวิชยานนท์]]
| ถัดไป = [[พระเจ้าอินทวิชยานนท์]]
}}
}}
บรรทัด 136: บรรทัด 112:
{{ราชโอรส-ราชธิดาในเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่}}
{{ราชโอรส-ราชธิดาในเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่}}


{{เรียงลำดับ|กาวิโลรส}}
{{ประสูติปี|}}
{{อายุขัย||2413}}
{{สิ้นพระชนม์ปี|2413}}
[[หมวดหมู่:เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่|6]]
[[หมวดหมู่:เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่|6]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์ทิพย์จักร]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์ทิพย์จักร]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:04, 9 มิถุนายน 2562

พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์
ไฟล์:Kaviloros Suriyavongse.jpg
เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่
ครองราชย์เจ้านครเชียงใหม่
16 ตุลาคม พ.ศ. 2399 - 2404
พระเจ้านครเชียงใหม่
พ.ศ. 2404 - 29 มิถุนายน พ.ศ. 2413
ก่อนหน้าพระเจ้ามโหตรประเทศ
ถัดไปพระเจ้าอินทวิชยานนท์
พิราลัย29 มิถุนายน พ.ศ. 2413
พระชายาเจ้าอุษา
พระบุตรเจ้าทิพเกสร
เจ้าอุบลวรรณา
ราชวงศ์ทิพย์จักร
พระบิดาพระเจ้ากาวิละ
พระมารดาแม่เจ้าจันทาราชเทวี

พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์ เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร[1] ด้วยพระนิสัยที่เด็ดขาดเป็นที่เคารพยำเกรงในหมู่ข้าราชบริพารและพสกนิกร เมื่อทรงพิจารณาตัดสินว่าคดีความใดแล้ว หากทรงเอ่ยว่า "อ้าว" เมื่อใด หมายถึงการต้องโทษตัดศีรษะประหารชีวิต จนประชาชนทั่วไปต่างถวายพระสมัญญาว่า "เจ้าชีวิตอ้าว"[2] ในแง่พฤติการณ์แล้ว พระองค์ถือเป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ที่ทรงอำนาจมากที่สุดในบรรดาทุกองค์

พระประวัติ

พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์ มีพระนามเดิมว่า เจ้าหนานสุริยวงศ์ เป็นพระโอรสในพระเจ้ากาวิละกับแม่เจ้าจันทาราชเทวี ในปี พ.ศ. 2368 ได้รับอิสริยยศเป็น "พระยาเมืองแก้ว"[3] เมื่อพระเจ้ามโหตตรประเทศถึงแก่พิราลัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนยศเป็น "เจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์ ดำรงนพีสีนคร สุนทรทศลักษณเกษตร วรฤทธิ์เดชมหาโยนางคราชวงศาธิบดี เจ้านครเชียงใหม่"[4] เมื่อลงมาเข้าเฝ้าในปี พ.ศ. 2404 ก็ได้รับเพิ่มยศเป็นพระเจ้านครเชียงใหม่ในราชทินนาม "พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์ ดำรงนพีสีนคร สุนทรทศลักษณเกษตร วรฤทธิเดชศรี โยนางคดไนย ราชวงศาธิบดี เจ้านครเชียงใหม่"[5]

พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์ มีพระเชษฐา พระอนุชา และพระขนิษฐา รวม 5 องค์ มีพระนามตามลำดับ ดังนี้

  1. เจ้าราชบุตร (สุริยฆาต ณ เชียงใหม่) - เจ้าไปยกา (ตาทวด) ของหม่อมทิพวัน กฤดากร ณ อยุธยา และหม่อมศรีนวล กฤดากร ณ อยุธยา ในพลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช
  2. พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 6
  3. เจ้าหนานมหาวงศ์ - พระอัยกา (เจ้าปู่) ในเจ้าจอมมารดาทิพเกษร ในรัชกาลที่ 5 และ พระไปยกา (เจ้าตาทวด) ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นสรรควิไสยนรบดี
  4. เจ้าคำใส
  5. เจ้าหนานไชยเสนา

พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์ เสด็จขึ้นครองนครเชียงใหม่ ใน พ.ศ. 2397 จนกระทั่งถึงแก่พิราลัยในวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2413 รวมระยะเวลาที่ทรงครองนคร 16 ปี

พระธิดา

พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์ มีพระธิดากับแม่เจ้าอุษาเทวี รวม 2 องค์ ดังนี้

  1. เจ้าทิพเกสร - พระชายาในพระเจ้าอินทวิชยานนท์ และเป็นพระมารดาในเจ้าดารารัศมี พระราชชายาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
  2. เจ้าอุบลวรรณา - เจ้าแม่ของเจ้ากรรณิการ์ พระอัยยิกา (เจ้าย่า) ในเจ้าศิริมา ณ เชียงใหม่ พระชายาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นสรรควิไสยนรบดี

ราชกรณียกิจ

เจ้าหลวงเชียงใหม่แห่ง
ราชวงศ์ทิพย์จักร
พระเจ้ากาวิละ
พระยาธรรมลังกา
พระยาคำฟั่น
พระยาพุทธวงศ์
พระเจ้ามโหตรประเทศ
พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์
พระเจ้าอินทวิชยานนท์
เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์
เจ้าแก้วนวรัฐ

พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์ ทรงปกครองนครเชียงใหม่ และทำนุบำรุงศาสนาอย่างสม่ำเสมอ ทั้งยังทรงจัดสร้างระฆังชุดใหญ่น้ำหนักทอง 2,095,600 ตำลึง ถวายแด่วัดพระธาตุดอยสุเทพ ในปี พ.ศ. 2403 และเป็นผู้จัดตั้งข้อบัญญัติสำหรับการพิจารณาพิพากษาคดีความ ณ เค้าสนามหลวง[2]

ในปี พ.ศ. 2406 กลุ่มเจ้านายฝ่ายเหนือรวมหัวกันกล่าวโทษพระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์ ว่าพระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์เอาใจออกห่างกรุงเทพ โดยทรงถวายสิ่งของต่อกษัตริย์พม่าและกษัตริย์พม่าก็ถวายสิ่งของตอบ ทางกรุงเทพได้เรียกตัวพระองค์มาทำการชี้แจง พระเจ้ากาวิโลรสได้เสด็จลงกรุงเทพพร้อมพระญาติ แต่ด้วยไหวพริบของพระองค์ พระเจ้ากาวิโลรสถือโอกาสพาตัวเจ้าเมืองหมอกใหม่เข้าถวายต้นไม้เงินต้นไม้ทองเป็นข้าขอบขันฑสีมากรุงเทพ นับเป็นการพลิกวิกฤตเป็นโอกาส

ในนิพนธ์เรื่อง เครื่องม้าอะแซหวุ่นกี้ ของกรมพระยาดำรงราชานุภาพระบุว่า พระเจ้ากาวิโลรสทรงถวายสมบัติเครื่องยศจากกษัตริย์พม่าแก่รัชกาลที่ 4 แต่ถูกปฏิเสธ ในเวลานั้นมีมหรสพสมโภชพระราชธิดาพอดี พระเจ้ากาวิโลรสจึงถวายสร้อยนั้นสมโภชพระราชธิดา เป็นเหตุให้รัชกาลที่ 4 ทรงตั้งพระนามพระราชธิดาองค์นั้นว่า "พระองค์เจ้าพวงสร้อยสอางค์"

ใน พงศาวดารโยนก ระบุว่า บรรดาสิ่งของเครื่องยศจากกษัตริย์พม่ามีแหวนและผ้าด้วย โดยรัชกาลที่ 4 ทรงรับแหวนทับทิมไว้วงเดียวเพื่อรักษาน้ำใจ และจากการสอบสวนพบว่า "พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์ยังหามีความผิดเปนข้อใหญ่ไม่ ขอพระราชทานให้กลับขึ้นไปรักษาอาณาเขตปกครองญาติพี่น้องบุตรหลาน ทำราชการฉลองพระเดชพระคุณสืบไป..."[6] เห็นได้ว่าแม้สยามจะมีโอกาสเข้าแทรกแทรงล้านนาเพื่อลดอำนาจของเจ้านาย แต่ก็ไม่อาจทำการอย่างผลีผลามเพราะพระเจ้ากาวิโลรสเป็นพระเจ้าประเทศราชที่ทรงอำนาจ

ในด้านการปกครองทรงเข้มแข็งเป็นที่เกรงขาม แม้แต่รัฐบาลสยามก็ยังมิอาจล่วงเกินกิจการภายในของนครเชียงใหม่ได้ แต่พระเจ้ากาวิโรรสฯ ก็มิได้โปรดให้มีการเผยแพร่ศาสนาอื่นในนครเชียงใหม่ และได้ทรงสั่งประหารชีวิตคริสต์ศาสนิกชน 2 คน ในปี พ.ศ. 2411

พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์ เป็นผู้น้อมเกล้าฯ ถวายพระเศวตวรวรรณ เป็นช้างในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เมื่อปี พ.ศ. 2412[7]

สถานที่อันเนื่องมาจากพระนาม

พงศาวลี

อ้างอิง

  1. รุ่งพงษ์ ชัยนาม. ประวัติศาสตร์ล้านนา : ประวัติศาสตร์ไทยที่คนไทยไม่ค่อยมีโกาสได้ศึกษา. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
  2. 2.0 2.1 บุญเสริม ศาสตราภัย และสังคีต จันทนะโพธิ. (2520) อดีตลานนา กรุงเทพฯ : กรุงสยามการพิมพ์
  3. ราชบัณฑิตยสถาน, สารานุกรมประวัติศาสตร์ไทย เล่ม 1 อักษร ก, พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2549, หน้า 344
  4. พระยาประชากิจกรจักร. พงศาวดารโยนก. นนทบุรี : ศรีปัญญา, 2557. 496 หน้า. ISBN 978-616-7146-62-1, หน้า 458
  5. "พงศาวดารเมืองนครเชียงใหม่ เมืองนครลำปาง เมืองลำพูนไชย", หน้า 111
  6. พระยาประชากิจกรจักร. พงศาวดารโยนก. 2515.
  7. "พงศาวดารเมืองนครเชียงใหม่ เมืองนครลำปาง เมืองลำพูนไชย", หน้า 118


ก่อนหน้า พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์ ถัดไป
พระเจ้ามโหตรประเทศ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่
(พ.ศ. 2399 - 29 มิถุนายน พ.ศ. 2413)
พระเจ้าอินทวิชยานนท์