ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระที่นั่งปรีดีราชวโรทัย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 29: บรรทัด 29:
'''พระที่นั่งปรีดีราชวโรทัย''' เป็นพระที่นั่งที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระที่นั่งองค์หนึ่งในหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ปัจจุบันถูกรื้อลงแล้ว
'''พระที่นั่งปรีดีราชวโรทัย''' เป็นพระที่นั่งที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระที่นั่งองค์หนึ่งในหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ปัจจุบันถูกรื้อลงแล้ว
==ประวัติ==
==ประวัติ==
พระ ที่นั่งองค์นี้อยู่ต่อเนื่องกับห้องเขียวในพระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬารด้าน ทิศเหนือ จึงเรียกว่า " ห้องเขียวนอก " มีชานติดอยู่กับ " ห้องผักกาด " หรือพระที่นั่งดำรงสวัสดิอนัญวงศ์ เป็นที่สำหรับมหาดเล็กและข้าทูลละอองธุลีพระบาทฝ่ายหน้าเฝ้า ฯ บางโอกาส
พระที่นั่งองค์นี้อยู่ต่อเนื่องกับห้องเขียวในพระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬารด้าน ทิศเหนือ จึงเรียกว่า "ห้องเขียวนอก" มีชานติดอยู่กับ "ห้องผักกาด" หรือพระที่นั่งดำรงสวัสดิอนัญวงศ์ เป็นที่สำหรับมหาดเล็กและข้าทูลละอองธุลีพระบาทฝ่ายหน้าเฝ้าฯ บางโอกาส
==ห้องภายในพระที่นั่ง==
==ห้องภายในพระที่นั่ง==
ชั้น บนเป็นห้องพักผ่อนพระราชอิริอยาบถ ชั้นล่างเรียกว่า " ชั้นต่ำ " หรือเรียกว่า " ห้องช่างเขียน " เป็นที่รวบรวมช่างฝีมือประณีตของหลวงไว้เป็นอันมาก มีช่างเขียนลวดลายไทยและลายต่างประเทศ เช่น ช่างทอง ช่างปั้น ช่างกลึง ช่างแกะสลึก ช่างก่อเขา ช่างออกแบบเครื่องเพชร
ชั้นบนเป็นห้องพักผ่อนพระราชอิริอยาบถ ชั้นล่างเรียกว่า "ชั้นต่ำ" หรือเรียกว่า "ห้องช่างเขียน" เป็นที่รวบรวมช่างฝีมือประณีตของหลวงไว้เป็นอันมาก มีช่างเขียนลวดลายไทยและลายต่างประเทศ เช่น ช่างทอง ช่างปั้น ช่างกลึง ช่างแกะสลึก ช่างก่อเขา ช่างออกแบบเครื่องเพชร
{{พระบรมมหาราชวัง}}
{{พระบรมมหาราชวัง}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:21, 26 กุมภาพันธ์ 2562

พระที่นั่งปรีดีราชวโรทัย
ข้อมูลทั่วไป
ประเภทพระที่นั่ง
เมืองกรุงเทพมหานคร
ประเทศประเทศไทย
ผู้สร้างพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระที่นั่งปรีดีราชวโรทัย เป็นพระที่นั่งที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระที่นั่งองค์หนึ่งในหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ปัจจุบันถูกรื้อลงแล้ว

ประวัติ

พระที่นั่งองค์นี้อยู่ต่อเนื่องกับห้องเขียวในพระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬารด้าน ทิศเหนือ จึงเรียกว่า "ห้องเขียวนอก" มีชานติดอยู่กับ "ห้องผักกาด" หรือพระที่นั่งดำรงสวัสดิอนัญวงศ์ เป็นที่สำหรับมหาดเล็กและข้าทูลละอองธุลีพระบาทฝ่ายหน้าเฝ้าฯ บางโอกาส

ห้องภายในพระที่นั่ง

ชั้นบนเป็นห้องพักผ่อนพระราชอิริอยาบถ ชั้นล่างเรียกว่า "ชั้นต่ำ" หรือเรียกว่า "ห้องช่างเขียน" เป็นที่รวบรวมช่างฝีมือประณีตของหลวงไว้เป็นอันมาก มีช่างเขียนลวดลายไทยและลายต่างประเทศ เช่น ช่างทอง ช่างปั้น ช่างกลึง ช่างแกะสลึก ช่างก่อเขา ช่างออกแบบเครื่องเพชร