ข้ามไปเนื้อหา

ช่องแคบมะละกา

พิกัด: 4°N 100°E / 4°N 100°E / 4; 100 (Strait of Malacca)
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ช่องแคบมะละกา
ช่องแคบมะละกาเชื่อมกับมหาสมุทรแปซิฟิกทางตะวันออกและมหาสมุทรอินเดียทางตะวันตก
ช่องแคบมะละกาตั้งอยู่ในประเทศอินโดนีเซีย
ช่องแคบมะละกา
ช่องแคบมะละกา
ที่ตั้งทะเลอันดามันช่องแคบสิงคโปร์
พิกัด4°N 100°E / 4°N 100°E / 4; 100 (Strait of Malacca)
ชนิดช่องแคบ
ชื่อในภาษาแม่
ประเทศในลุ่มน้ำ ไทย
 มาเลเซีย
 อินโดนีเซีย
 อินเดีย
ช่วงยาวที่สุด930 กิโลเมตร (580 ไมล์)
ช่วงสั้นที่สุด38 กิโลเมตร (24 ไมล์)
ความลึกโดยเฉลี่ย25 เมตร (82 ฟุต) (ขั้นต่ำ)[1]
เมืองมะละกา
พอร์ตกลัง
ปีนัง
เมดัน
จังหวัดพังงา
จังหวัดภูเก็ต
จังหวัดกระบี่
จังหวัดตรัง
จังหวัดสตูล
อาเจะห์
รีเยา
พอร์ตแบลร์

ช่องแคบมะละกา (อังกฤษ: Strait of Malacca; จีน: 馬六甲海峽/马六甲海峡; ทมิฬ: மலாக்கா நீரிணை; มลายู: Selat Melaka; อินโดนีเซีย: Selat Malaka; ฮินดี: मलक्का जलडमरूमध्य) เป็นช่องแคบที่มีความยาว 580 ไมล์ (930 กิโลเมตร) ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรมลายูกับเกาะสุมาตรา[2] เนื่องจากร่องน้ำขนส่งหลักตั้งอยู่ระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก ทำให้เป็นหนึ่งในเส้นทางเดินเรือที่สำคัญที่สุดในโลก ชื่อช่องแคบตั้งชื่อมาจากรัฐสุลต่านมะละกาที่เคยปกครองเหนือกลุ่มเกาะใน ค.ศ. 1400 ถึง 1511

พื้นที่

[แก้]

องค์การอุทกศาสตร์สากลได้กำหนดขอบเขตและพื้นที่ของช่องแคบมะละกาไว้ตามนี้:[3]

ทางตะวันตก เส้นเชื่อมกันที่ Pedropunt จุดทางเหนือสุดของเกาะสุมาตรา (5°40′N 95°26′E / 5.667°N 95.433°E / 5.667; 95.433) และ Lem Voalan จุดทางใต้สุดของเกาะภูเก็ต (แหลมพรหมเทพบนเกาะภูเก็ต) ในสยาม (ประเทศไทย) (7°45′N 98°18′E / 7.750°N 98.300°E / 7.750; 98.300)
ทางตะวันออก เส้นเชื่อมกันที่ตันจุงปีไย (บูลุซ) จุดทางใต้สุดของคาบสมุทรมลายู (1°16′N 103°31′E / 1.267°N 103.517°E / 1.267; 103.517) และ The Brothers (1°11.5′N 103°21′E / 1.1917°N 103.350°E / 1.1917; 103.350) และจากที่นั่นถึงเกาะการีมุนน้อย (1°10′N 103°23.5′E / 1.167°N 103.3917°E / 1.167; 103.3917)
ทางเหนือ ชายฝั่งทางตะวันตกเฉียงใต้สุดของคาบสมุทรมลายู
ทางใต้ ชายฝั่งทางตะวันออกเฉียงเหนือสุดของเกาะสุมาตรา แล้วไปทางตะวันออกสุดถึงตันจงเกอดาบู (1°06′N 102°58′E / 1.100°N 102.967°E / 1.100; 102.967) และจากที่นั่นถึงเกาะการีมุนน้อย

อ้างอิง

[แก้]
  1. Malaccamax
    As the name suggests, Malaccamax ships are the largest ships that can pass through the Strait off Malacca which is 25 m (82 ft) deep. As per the current permissible limits, a Malaccamax vessel can have a maximum length of 400 m (1,312ft), beam of 59 m (193.5 ft), and draught of 14.5 m (47.5 ft). Comparison of Tanker sizes เก็บถาวร 2021-05-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  2. Winn, Patrick (27 Mar 2014). "Strait of Malacca Is World's New Piracy Hotspot". NBC News. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-03-15. สืบค้นเมื่อ 14 March 2017.
  3. Limits of Oceans and Seas (PDF) (3rd ed.). International Hydrographic Organization. 1953. p. 23. สืบค้นเมื่อ 2018-12-03.

อ่านเพิ่ม

[แก้]
  • Borschberg, Peter, The Singapore and Melaka Straits: Violence, Security and Diplomacy in the 17th Century (Singapore and Leiden: NUS Press and KITLV Press, 2010). https://www.academia.edu/4302722
  • Borschberg, Peter, ed., Iberians in the Singapore-Melaka Area and Adjacent Regions (16th to 18th Century) (Wiesbaden and Lisbon: Harrassowitz and Fundação Oriente, 2004). https://www.academia.edu/4302708
  • Borschberg, Peter, ed. The Memoirs and Memorials of Jacques de Coutre. Security, Trade and Society in 17th Century Southeast Asia (Singapore: NUS Press, 2013). https://www.academia.edu/4302722
  • Borschberg, Peter, ed., Journal, Memorials and Letters of Cornelis Matelieff de Jonge. Security, Diplomacy and Commerce in 17th Century Southeast Asia (Singapore: NUS Press, 2015). https://www.academia.edu/4302783
  • Borschberg, Peter, "The value of Admiral Matelieff's writings for the history of Southeast Asia, c. 1600–1620", Journal of Southeast Asian Studies, 48(3), pp. 414–435. doi:10.1017/S002246341700056X
  • Borschberg P. and M. Krieger, ed., Water and State in Asia and Europe (New Delhi: Manohar, 2008). https://www.academia.edu/4311610

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]