ช่องแคบการีมาตา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ช่องแคบการีมาตา
ช่องแคบการีมาตา
ช่องแคบการีมาตาตั้งอยู่ในเกาะสุมาตรา
ช่องแคบการีมาตา
ช่องแคบการีมาตา
พิกัด2°05′S 108°40′E / 2.083°S 108.667°E / -2.083; 108.667พิกัดภูมิศาสตร์: 2°05′S 108°40′E / 2.083°S 108.667°E / -2.083; 108.667
ชนิดช่องแคบ
ชื่อในภาษาแม่Selat Karimata  (อินโดนีเซีย)
ประเทศในลุ่มน้ำอินโดนีเซีย
อ้างอิงSelat Karimata: Indonesia National Geospatial-Intelligence Agency, Bethesda, MD, USA

ช่องแคบการีมาตา (อินโดนีเซีย: Selat Karimata) เป็นช่องแคบที่มีความกว้างราว 125 ไมล์ (201 กิโลเมตร) ที่เชื่อมทะเลจีนใต้กับทะเลชวา โดยแบ่งเกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียวของอินโดนีเซีย ช่องแคบนี้อยู่ติดกับชายฝั่งเกาะเบอลีตุงทางทิศตะวันออก และติดกับชายฝั่งเกาะบอร์เนียวทางทิศตะวันตก[1] เป็นช่องแคบที่กว้างที่สุดที่เชื่อมทะเลจีนใต้กับทะเลชวา (ช่องแคบอื่นได้แก่ ช่องแคบบังกาและช่องแคบกัซปาร์) แต่เกาะและปะการังจำนวนมากได้ลดความลึกและกว้างสำหรับการเดินเรือ ฤดูกาลและกระแสน้ำได้รับอิทธิพลจากฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงใต้และตะวันตกเฉียงเหนือประจำปี

ช่องแคบนี้เคยใช้เป็นเส้นทางการโจมตีของกองทัพอังกฤษในการโจมตีเกาะชวาปี ค.ศ. 1811 ในหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ เมื่อไม่นานมานี้อินโดนีเซียแอร์เอเชีย เที่ยวบินที่ 8501 ตก

อ้างอิง[แก้]

  1. Asiatic Pilot, p. 179.

บรรณานุกรม[แก้]