ข้ามไปเนื้อหา

กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพบราซิล
วันที่3–20 สิงหาคม
ทีมทีมชาย 16 ทีม + ทีมหญิง 12 ทีม (จาก 6 สมาพันธ์)
สถานที่7 (ใน 6 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศ บราซิล (ชาย)
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี (หญิง)
รองชนะเลิศ เยอรมนี (ชาย)
ธงชาติสวีเดน สวีเดน (หญิง)
อันดับที่ 3 ไนจีเรีย (ชาย)
ธงชาติแคนาดา แคนาดา (หญิง)
อันดับที่ 4 ฮอนดูรัส (ชาย)
ธงชาติบราซิล บราซิล (หญิง)
2012
2020

กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 มีการแข่งขันช่วงระหว่างวันที่ 3 สิงหาคม ถึง 20 สิงหาคม พ.ศ. 2555 โดยมี 2 เหรียญทองสำหรับกีฬาชนิดนี้ ซึ่งมอบให้แก่ผู้ชนะเลิศในการแข่งขัน 2 ประเภท ได้แก่ ฟุตบอลชาย และ ฟุตบอลหญิง[1]

การแข่งขันหลักจะจัดที่รีโอเดจาเนโร แต่การแข่งขันจะจัดที่เซาเปาลู, เบลูโอรีซองชี, บราซิเลีย, ซัลวาดอร์, มาเนาช์ ด้วย โดยทั้ง 6 เมืองเคยจัดการแข่งขันฟุตบอลโลก 2014 โดยสนามกีฬาโอลิมปิกโฌเอา อาเวลังฌี เป็นสนามเดียวที่ไม่ได้จัดการแข่งขันฟุตบอลโลก[2][3]

คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติร่วมกับฟีฟ่า ในการส่งทีมเข้าร่วมการแข่งขัน โดยฟุตบอลชายจะเป็นชุดเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี (ผู้เล่นต้องเกิดตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2536 เป็นต้นไป) โดยอนุญาตให้มีผู้เล่นที่อายุเกิน 23 ปีได้ไม่เกิน 3 คน ส่วนทีมฟุตบอลหญิงนั้นไม่จำกัดอายุ[4]

การแข่งขันในครั้งนี้ได้มีการเปิดเผยว่าจะใช้ลูกฟุตบอลประมาณ 430 ลูก[5]

ตารางการแข่งขัน

[แก้]

ตารางการแข่งขันได้มีการประกาศอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558[6][7]

P รอบคัดเลือก ¼ รอบก่อนรองชนะเลิศ ½ รอบนรองชนะเลิศ B รอบชิงอันดับที่ 3 F รอบชิงชนะเลิศ
รายการ↓/วันที่→ พ. 3 พฤ. 4 ศ. 5 ส. 6 อา. 7 จ. 8 อ. 9 พ. 10 พฤ. 11 ศ. 12 ส. 13 อา.14 จ. 15 อ. 16 พ. 17 พฤ. 18 ศ. 19 ส. 20
ชาย P P P ¼ ½ B/F
หญิง P P P ¼ ½ B/F

สนามแข่งขัน

[แก้]

รีโอเดจาเนโร จะจัดการแข่งขันในรอบแรกที่สนามกีฬาโอลิมปิกโฌเอา อาเวลังฌี ส่วนนัดชิงชนะเลิศของฟุตบอลชายและหญิงจะแข่งขันที่สนามกีฬามารากานัง ในวันที่ 19 และ 20 สิงหาคม ตามลำดับ นอกจากรีโอเดจาเนโรแล้วยังมีเมืองที่จัดแข่งขันคือ เซาเปาลู, เบลูโอรีซองชี, บราซิเลีย, ซัลวาดอร์, มาเนาช์ ซึ่งเมืองข้างต้นนั้นเคยจัดการแข่งขันฟุตบอลโลก 2014[2] ส่วนสนามแข่งขันนัดชิงชนะเลิศนั้นได้รับการประกาศจากฟีฟ่า เมื่อวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2558[3]


รีโอเดจาเนโร รัฐรีโอเดจาเนโร บราซิเลีย นครหลวงสหพันธ์ เซาเปาลู รัฐเซาเปาลู
สนามกีฬามารากานัง สนามกีฬาโอลิมปิก สนามกีฬาแห่งชาติมาแน การิงชา อาเรนาโกริงชังส์

15°47′0.6″S 47°53′56.99″W / 15.783500°S 47.8991639°W / -15.783500; -47.8991639 (Estádio Nacional Mané Garrincha)

23°32′43.91″S 46°28′24.14″W / 23.5455306°S 46.4733722°W / -23.5455306; -46.4733722 (Arena Corinthians)

22°53′35.42″S 43°17′32.17″W / 22.8931722°S 43.2922694°W / -22.8931722; -43.2922694 (Estádio Olímpico João Havelange)

22°54′43.8″S 43°13′48.59″W / 22.912167°S 43.2301639°W / -22.912167; -43.2301639 (Estádio do Maracanã)

ความจุ: 74,738 ที่นั่ง[8]
ปรับปรุงใหม่สำหรับการแข่งขันฟุตบอลโลก 2014
ความจุ: 60,000 ที่นั่ง
ปรับปรุงใหม่สำหรับการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2016
ความจุ: 69,349 ที่นั่ง[8]
ปรับปรุงใหม่สำหรับการแข่งขันฟุตบอลโลก 2014
ความจุ: 48,234 ที่นั่ง[8]
สนามใหม่ในการแข่งขันฟุตบอลโลก 2014
เบลูโอรีซองชี รัฐมีนัชเจไรช์
มีเนย์เรา

19°51′57″S 43°58′15″W / 19.86583°S 43.97083°W / -19.86583; -43.97083 (Estádio Mineirão)

ความจุ: 58,170 ที่นั่ง[8]
ปรับปรุงใหม่สำหรับการแข่งขันฟุตบอลโลก 2014
ซัลวาดอร์ รัฐบาเยีย
อาเรนาฟงชีนอวา

12°58′43″S 38°30′15″W / 12.97861°S 38.50417°W / -12.97861; -38.50417 (Arena Fonte Nova)

ความจุ: 51,900 ที่นั่ง[8]
สนามใหม่ในการแข่งขันฟุตบอลโลก 2014
มาเนาช์ รัฐอามาโซนัส
อาเรนาดาอามาโซเนีย

3°4′59″S 60°1′41″W / 3.08306°S 60.02806°W / -3.08306; -60.02806 (Arena da Amazônia)

ความจุ: 40,549 ที่นั่ง[8]
สนามใหม่ในการแข่งขันฟุตบอลโลก 2014

ทีมที่เข้าแข่งขัน

[แก้]

ทีมชาย

[แก้]

ทีมชายมีทีมเข้าแข่งขันทั้งหมด 16 ทีม โดยแบ่งเป็นบราซิล ซึ่งเป็นเจ้าภาพ และอีก 15 ทีม จาก 6 สมาพันธ์ฟุตบอล[9]

การคัดเลือก วันที่1 ประเทศที่จัดแข่งขัน1 จำนวนทีม ทีมที่เข้ารอบ
เจ้าภาพ 2 ตุลาคม 2552  เดนมาร์ก 1 ธงชาติบราซิล บราซิล
ฟุตบอลชิงแชมป์เยาวชนอเมริกาใต้ 2015[10] 14 มกราคม – 7 กุมภาพันธ์ 2558  อุรุกวัย 1 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา
ฟุตบอลเยาวชนชุดอายุไม่เกิน 21 ปีชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2015[11] 17–30 มิถุนายน 2558  เช็กเกีย 4 ธงชาติเดนมาร์ก เดนมาร์ก
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส
ธงชาติสวีเดน สวีเดน
แปซิฟิกเกมส์ 2015[12] 3–17 กรกฎาคม 2558  ปาปัวนิวกินี 1 ธงชาติฟีจี ฟีจี2
ฟุตบอลโอลิมปิกรอบคัดเลือก 2015 โซนคอนคาแคฟ[13] 1–13 ตุลาคม 2558  สหรัฐอเมริกา 2 ธงชาติฮอนดูรัส ฮอนดูรัส
ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก
แอฟริกา ยู-23 คัพออฟเนชันส์ 2015[14] 28 พฤศจิกายน – 12 ธันวาคม 2558  เซเนกัล 3 ธงชาติแอลจีเรีย แอลจีเรีย
ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย
ธงชาติแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้
ฟุตบอลเยาวชนชุดอายุไม่เกิน 23 ปีชิงแชมป์เอเชีย 2016[15] 12–30 มกราคม 2559  กาตาร์ 3 ธงชาติอิรัก อิรัก
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
ฟุตบอลโอลิมปิกรอบคัดเลือก 2016 นัดเพลย์ออฟคอนคาเคฟ-คอนเมบอล 25–29 มีนาคม 2559 การแข่งขันเหย้า-เยือน3 1 ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย
รวม 16
  • ^1 วันที่และประเทศที่จัดการแข่งขันในการแข่งขันรอบสุดท้าย ส่วนในการแข่งขันรอบแรกอาจแข่งขันในสถานที่ที่แตกต่างกัน
  • ^2 การแข่งขันโอลิมปิกครั้งแรก
  • ^3 การแข่งขันจัดในโคลอมเบียและสหรัฐอเมริกา

ทีมหญิง

[แก้]

ทีมชายมีทีมเข้าแข่งขันทั้งหมด 12 ทีม โดยแบ่งเป็นบราซิล ซึ่งเป็นเจ้าภาพ และอีก 11 ทีม จาก 6 สมาพันธ์ฟุตบอล[9]

การคัดเลือก วันที่4 ประเทศที่จัดแข่งขัน4 จำนวนทีม ทีมที่เข้ารอบ
เจ้าภาพ 2 ตุลาคม 2552  เดนมาร์ก 1 ธงชาติบราซิล บราซิล
โกปาอาเมริกา 2014[16] 11–28 กันยายน 2557  เอกวาดอร์ 1 ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย
ฟุตบอลโลก 2015[17]
(สำหรับทีมในยูฟ่า)5
6 มิถุนายน – 5 กรกฎาคม 2558  แคนาดา 2 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
ฟุตบอลหญิงโอลิมปิกรอบคัดเลือกโซนซีเอเอฟ 2015[14] 2–18 ตุลาคม 2558 การแข่งขันเหย้า-เยือน 2 ธงชาติแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้
ธงชาติซิมบับเว ซิมบับเว6
ฟุตบอลหญิงโอลิมปิกรอบคัดเลือก โอเอฟซี 2016[12] 23 มกราคม 2559  ปาปัวนิวกินี 1 ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์
ฟุตบอลหญิงโอลิมปิกรอบคัดเลือก คอนคาแคฟ 2016[18] 10–21 กุมภาพันธ์ 2559  สหรัฐอเมริกา 2 ธงชาติแคนาดา แคนาดา
ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา
ฟุตบอลหญิงโอลิมปิกรอบคัดเลือก เอเอฟซี 2016[19] 29 กุมภาพันธ์ – 9 มีนาคม 2559  ญี่ปุ่น[20] 2 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
ธงชาติจีน จีน
ฟุตบอลหญิงโอลิมปิกรอบคัดเลือก ยูฟ่า 2016[21] 2–9 มีนาคม 2559  เนเธอร์แลนด์ 1 ธงชาติสวีเดน สวีเดน
รวม 12
  • ^4 วันที่และประเทศที่จัดการแข่งขันในการแข่งขันรอบสุดท้าย ส่วนในการแข่งขันรอบแรกอาจแข่งขันในสถานที่ที่แตกต่างกัน
  • ^5 อังกฤษ ได้อันดับที่ 3 ของสมาชิกยูฟ่าในการแข่งขันฟุตบอลโลก แต่อังกฤษไม่ได้เป็นสมาชิกคณะกรรมการโอลิมปิกสากล และการเจรจาที่จะให้แข่งขันในชื่อสหราชอาณาจักรไม่สำเร็จ
  • ^6 การแข่งขันโอลิมปิกครั้งแรก

การแข่งขันทีมชาย

[แก้]

การแข่งขันประกอบด้วยรอบแบ่งกลุ่ม และ รอบแพ้คัดออก

รอบแบ่งกลุ่ม

[แก้]

ทีมจะถูกแบ่งใน 4 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ประเทศ โดยจะแข่งขันแบบพบกันหมด ซึ่งจะได้รับ 3 คะแนนหากชนะ, 1 คะแนนหากเสมอ 2 ทีมที่ได้คะแนนมากที่สุดของกลุ่มจะเข้าสู่รอบ 8 ทีม

กลุ่มเอ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติบราซิล บราซิล (H) 3 1 2 0 4 0 +4 5 เข้าสู่ รอบก่อนรองชนะเลิศ
2 ธงชาติเดนมาร์ก เดนมาร์ก 3 1 1 1 1 4 −3 4
3 ธงชาติอิรัก อิรัก 3 0 3 0 1 1 0 3
4 ธงชาติแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้ 3 0 2 1 1 2 −1 2
แหล่งที่มา : ริโอ2016 และ ฟีฟ่า
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตูได้-เสีย; 3) ประตูได้; 4) ทำซ้ำในข้อ 1–3 ในนัดการแข่งขันระหว่างทีมที่มีอันดับเท่ากัน; 5) จับฉลากโดยฟีฟ่า
(H) เจ้าภาพ.

กลุ่มบี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย 3 2 0 1 6 6 0 6 เข้าสู่ รอบก่อนรองชนะเลิศ
2 ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย 3 1 2 0 6 4 +2 5
3 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 3 1 1 1 7 7 0 4
4 ธงชาติสวีเดน สวีเดน 3 0 1 2 2 4 −2 1
แหล่งที่มา : ริโอ2016 และ ฟีฟ่า
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตูได้-เสีย; 3) ประตูได้; 4) ทำซ้ำในข้อ 1–3 ในนัดการแข่งขันระหว่างทีมที่มีอันดับเท่ากัน; 5) จับฉลากโดยฟีฟ่า

กลุ่มซี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 3 2 1 0 12 3 +9 7 เข้าสู่ รอบก่อนรองชนะเลิศ
2 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 3 1 2 0 15 5 +10 5
3 ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก 3 1 1 1 7 4 +3 4
4 ธงชาติฟีจี ฟีจี 3 0 0 3 1 23 −22 0
แหล่งที่มา : ริโอ2016 และ ฟีฟ่า
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตูได้-เสีย; 3) ประตูได้; 4) ทำซ้ำในข้อ 1–3 ในนัดการแข่งขันระหว่างทีมที่มีอันดับเท่ากัน; 5) จับฉลากโดยฟีฟ่า

กลุ่มดี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส 3 2 1 0 5 2 +3 7 เข้าสู่ รอบ 8 ทีม
2 ธงชาติฮอนดูรัส ฮอนดูรัส 3 1 1 1 5 5 0 4
3 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 3 1 1 1 3 4 −1 4
4 ธงชาติแอลจีเรีย แอลจีเรีย 3 0 1 2 4 6 −2 1
แหล่งที่มา : ริโอ2016 และ ฟีฟ่า
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตูได้-เสีย; 3) ประตูได้; 4) ทำซ้ำในข้อ 1–3 ในนัดการแข่งขันระหว่างทีมที่มีอันดับเท่ากัน; 5) จับฉลากโดยฟีฟ่า

รอบแพ้คัดออก

[แก้]
 
รอบก่อนรองชนะเลิศรอบรองชนะเลิศรอบชิงเหรียญทอง
 
          
 
13 สิงหาคม — เซาเปาลู
 
 
ธงชาติบราซิล บราซิล2
 
17 สิงหาคม — รีโอเดจาเนโร
 
ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย0
 
ธงชาติบราซิล บราซิล6
 
13 สิงหาคม — เบลูโอรีซองชี
 
ธงชาติฮอนดูรัส ฮอนดูรัส0
 
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้0
 
20 สิงหาคม — รีโอเดจาเนโร
 
ธงชาติฮอนดูรัส ฮอนดูรัส1
 
ธงชาติบราซิล บราซิล1 (5)
 
13 สิงหาคม — ซัลวาดอร์
 
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี1 (4)
 
ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย2
 
17 สิงหาคม — เซาเปาลู
 
ธงชาติเดนมาร์ก เดนมาร์ก0
 
ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย0
 
13 สิงหาคม — บราซิเลีย
 
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี2 รอบชิงเหรียญทองแดง
 
ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส0
 
20 สิงหาคม — เบลูโอรีซองชี
 
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี4
 
ธงชาติฮอนดูรัส ฮอนดูรัส2
 
 
ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย3
 

การแข่งขันทีมหญิง

[แก้]

รอบแบ่งกลุ่ม

[แก้]

ทีมจะถูกแบ่งใน 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ประเทศ โดยจะแข่งขันแบบพบกันหมด รวมทั้งหมด 3 นัด ซึ่งจะได้รับ 3 คะแนนหากชนะ, 1 คะแนนหากเสมอ 2 ทีมที่ได้คะแนนมากที่สุดของกลุ่มจะเข้าสู่รอบ 8 ทีม

กลุ่มอี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติบราซิล บราซิล (H) 3 2 1 0 8 1 +7 7 รอบก่อนรองชนะเลิศ
2 ธงชาติจีน จีน 3 1 1 1 2 3 −1 4
3 ธงชาติสวีเดน สวีเดน 3 1 1 1 2 5 −3 4
4 ธงชาติแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้ 3 0 1 2 0 3 −3 1
แหล่งที่มา : ริโอ2016 และ ฟีฟ่า
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตูได้-เสีย; 3) ประตูได้; 4) ทำซ้ำในข้อ 1–3 ในนัดการแข่งขันระหว่างทีมที่มีอันดับเท่ากัน; 5) จับฉลากโดยฟีฟ่า
(H) เจ้าภาพ.

กลุ่ม เอฟ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติแคนาดา แคนาดา 3 3 0 0 7 2 +5 9 รอบก่อนรองชนะเลิศ
2 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 3 1 1 1 9 5 +4 4
3 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 3 1 1 1 8 5 +3 4
4 ธงชาติซิมบับเว ซิมบับเว 3 0 0 3 3 15 −12 0
แหล่งที่มา : ริโอ2016 และ ฟีฟ่า
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตูได้-เสีย; 3) ประตูได้; 4) ทำซ้ำในข้อ 1–3 ในนัดการแข่งขันระหว่างทีมที่มีอันดับเท่ากัน; 5) จับฉลากโดยฟีฟ่า

กลุ่ม จี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 3 2 1 0 5 2 +3 7 รอบก่อนรองชนะเลิศ
2 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 3 2 0 1 7 1 +6 6
3 ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ 3 1 0 2 1 5 −4 3
4 ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย 3 0 1 2 2 7 −5 1
แหล่งที่มา : ริโอ2016 และ ฟีฟ่า
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตูได้-เสีย; 3) ประตูได้; 4) ทำซ้ำในข้อ 1–3 ในนัดการแข่งขันระหว่างทีมที่มีอันดับเท่ากัน; 5) จับฉลากโดยฟีฟ่า

รอบแพ้คัดออก

[แก้]
 
รอบก่อนรองชนะเลิศรอบรองชนะเลิศรอบชิงเหรียญทอง
 
          
 
12 สิงหาคม — เบลูโอรีซองชี
 
 
ธงชาติบราซิล บราซิล (p) 0 (7)
 
16 สิงหาคม — รีโอเดจาเนโร
 
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย0 (6)
 
ธงชาติบราซิล บราซิล0 (3)
 
12 สิงหาคม — บราซิเลีย
 
ธงชาติสวีเดน สวีเดน0 (4)
 
ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา1 (3)
 
19 สิงหาคม — รีโอเดจาเนโร
 
ธงชาติสวีเดน สวีเดน (p)1 (4)
 
ธงชาติสวีเดน สวีเดน1
 
12 สิงหาคม — เซาเปาลู
 
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี2
 
ธงชาติแคนาดา แคนาดา1
 
16 สิงหาคม — เบลูโอรีซองชี
 
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส0
 
ธงชาติแคนาดา แคนาดา0
 
12 สิงหาคม — ซัลวาดอร์
 
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี2 รอบชิงเหรียญทองแดง
 
ธงชาติจีน จีน0
 
19 สิงหาคม — เซาเปาลู
 
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี1
 
ธงชาติบราซิล บราซิล1
 
 
ธงชาติแคนาดา แคนาดา2
 

สรุปเหรียญ

[แก้]

ตารางเหรียญการแข่งขัน

[แก้]
อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 เยอรมนี 1 1 0 2
2 บราซิล* 1 0 0 1
2 สวีเดน 0 1 0 1
4 แคนาดา 0 0 1 1
ไนจีเรีย 0 0 1 1
รวม 2 2 2 6

ผู้ที่ได้รับเหรียญ

[แก้]
รายการ เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ทีมชาย
รายละเอียด
บราซิล (BRA)
เวแวร์ตง
เซกา
โรดริกู ไคอู
มาร์ควินญอส
เรนาตู ออกุสตู
โดอูกลัส ซังตูส
ลูอัง
ราฟินญา
กาบรีแยล
เนย์มาร์
กาบรีแยล เฌซุส
วาเลซ
วิลเลียม
ลูอัง การ์เซีย
โรดริกู ดูราโด
ตีอากู ไมอา
เฟลิเป อังเดร์ซง
อูอิลซง
 
เยอรมนี (GER)
ทิโม ฮอร์น
เชเรมี โทลชัน
ลูคัส โคลสเทอร์มันน์
มัทธิอัส กินเทอร์
นิคลาส เซือเลอ
สเวน เบนเดอร์
มักซ์ เมเยอร์
ลาร์ส เบนเดอร์
ดาวี เซลเก
เลออน โกเรตซ์กา
ยูเลียน บรันดท์
ยันนิก ฮูธ
ฟิลิปป์ มักซ์
โรเบิร์ต เบาเออร์
มักซ์ คริสเตียนเซน
กริสชา เพรือเมล
แซร์ช กนาบรี
นิลส์ เพเทอร์เซน
อีริค เดลส์ชลาเกล
ไนจีเรีย (NGR)
ดาเนียล อักเปยี
มูเอนฟูห์ ซินเซเร
คิงส์ลีย์ มาดู
เชฮู อับดุลลาฮี
ซาตูร์ดาย อีริมูยา
วิลเลียม ทรูสต์-อีคองก์
อามินู อูมาร์
ออกเฮเนคาโร อีเตโบ
อิโมห์ อีเซเกียล
จอห์น โอบี มิเกล
จูเนียร์ อาจายี
โปปูลา ซาลิอู
อูมาร์ ซาดิค
อาซูบุยเก โอเกชุควู
เอ็นดิเฟรเก อูโด
สแตนลีย์ อามูไซ
อุสมัน โมฮัมเหม็ด
เอมมานูเอล ดานิเอล
ทีมหญิง
รายละเอียด
เยอรมนี (GER)
อัลมุท ชูลต์
โชเซฟิเน เฮนนิง
ซาสเคีย บาร์ตูเซียค
เลโอนี ไมเออร์
แอนนิเก คราห์น
ซิโมเน เลาเดห์ร
เมลานี เบห์รินเกอร์
เลนา โกเอบลิงก์
อาเลซานดรา ปอปป์
ชเซนิเฟอร์ มารอซซาน
อันยา มิททัค
ตาเบอา เคมเม
ซารา ดาบริตซ์
บาเบทท์ เปเทอร์
มันดี อิสแลคเกอร์
เมลานี เลอูโปลซ์
อิซาเบล เคอร์สชอฟสกี
ลอรา เบนคาร์ธ
สเวนยา ฮูธ
สวีเดน (SWE)
ยอนนา อันเดอร์สสัน
อีมิเลีย แอปเปลควิสต์
โคโซวาเร อัสล์ลานี
เอมมา เบิร์กลุนด์
สตินา แบล็คสเตนิอุส
ฮิลดา คาร์เลน
ลิซา ดาห์ลควิสต์
มักดาเลนา อีริคส์สัน
นิลลา ฟิสเชอร์
โซเฟีย ยาค็อบส์สัน
เฮดวิก ลินดาห์ล
ฟริโดลินา โรลโฟ
เอลิน รูเบนส์สัน
เจสซิกา ซามูเอลส์สัน
ลอตตา เชลิน
แครอลิเน เซเกอร์
ลินดา เซมบรันท์
โอลิเวีย เชาจ์
แคนาดา (CAN)
สเตฟานี แลบเบ
แอลลีชา แชปแมน
คาเดย์ชา บูชานัน
เชลินา ซาดอร์สกี
รีเบคกา ควินน์
เดแอนเน โรส
ไรห์อัน วิลคินสัน
ไดอานา มาเธสัน
โจเซเอ เบลันเกอร์
แอชลีย์ ลอว์เรนซ์
เดซิรี สกอตต์
คริสติเน ซินแคลร์
โซฟี ชมิดท์
เมลิสซา ตันเครดี
นิเชลล์ ปรินซ์
จานิเน เบคกี
เจสซี เฟลมิงก์
ซาบรินา ด'อันเคโล

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Circular no. 1383 - Olympic Football Tournaments Rio 2016 - Men's and Women's Tournaments" (PDF). FIFA.com. 1 October 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-12-12. สืบค้นเมื่อ 2 October 2013.
  2. 2.0 2.1 "Manaus enters race to host Rio 2016 Olympic Games football matches". Rio 2016 official website. 12 กุมภาพันธ์ 2558. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-02-13. สืบค้นเมื่อ 2016-07-23.
  3. 3.0 3.1 "Olympic Football Tournaments to be played in six cities and seven stadiums". FIFA.com. 16 March 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-03-20. สืบค้นเมื่อ 2016-07-23.
  4. "Regulations for the Olympic Football Tournaments 2016" (PDF). FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-04-18. สืบค้นเมื่อ 2016-07-23.
  5. "8,400 shuttlecocks, 250 golf carts, 54 boats... the mind-blowing numbers behind the Rio 2016 Games". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-07-07. สืบค้นเมื่อ 2016-07-23.
  6. "Match schedule for Rio 2016 unveiled". FIFA.com. 10 November 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-08-08. สืบค้นเมื่อ 2016-07-23.
  7. "Match Schedule Olympic Football Tournaments Rio 2016" (PDF). FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-02-04. สืบค้นเมื่อ 2016-07-23.
  8. 8.0 8.1 8.2 8.3 8.4 8.5 "2014 FIFA World Cup Brazil Venues". FIFA.com. 18 January 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-10-21. สืบค้นเมื่อ 12 June 2014.
  9. 9.0 9.1 "FIFA ratifies the distribution of seats corresponding to each confederation". CONMEBOL.com. 4 April 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-11-05. สืบค้นเมื่อ 5 November 2014.
  10. "Reglamento – Campeonato Sudamericano Sub-20 Juventud de América 2015" (PDF). CONMEBOL.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ 2016-07-23.
  11. "Regulations of the UEFA European Under-21 Championship, 2013–15 competition" (PDF). UEFA.
  12. 12.0 12.1 "OFC Insider Issue 6". Oceania Football Confederation. March 11, 2015. p. 8.
  13. "United States Named Host for CONCACAF Men's Olympic Qualifying Championship 2015". CONCACAF.com. 12 February 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-02-14. สืบค้นเมื่อ 13 February 2015.
  14. 14.0 14.1 "CAF Full Calendar". CAFonline.com. 28 February 2015. สืบค้นเมื่อ 28 February 2015.
  15. "Regulations AFC U-23 Championship 2016" (PDF). AFC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-08-30. สืบค้นเมื่อ 2016-07-23.
  16. "Reglamento – Copa América Femenina 2014" (PDF) (ภาษาสเปน). CONMEBOL. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ 2016-07-23.
  17. "Germany and Norway drawn together". UEFA.com. 6 December 2014.
  18. "2016 CONCACAF Women's Olympic Qualifying Championship Will be Played in Dallas and Houston". US Soccer. August 12, 2015.
  19. "Groups drawn for First Round of Rio 2016 Women's Qualifiers". Asian Football Confederation. 2014-12-04. สืบค้นเมื่อ 2014-12-04.
  20. "Football - Women's AFC Olympic Qualifying Tournament". Australian Olympic Committee. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-08-09. สืบค้นเมื่อ 28 July 2015.
  21. "European contenders impress in Canada". UEFA.com. 18 June 2015.