ข้ามไปเนื้อหา

กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 – ทีมหญิง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กีฬาฟุตบอลหญิงในโอลิมปิกฤดูร้อน
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพญี่ปุ่น
วันที่21 กรกฎาคม – 6 สิงหาคม 2021
ทีม12 (จาก 6 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 6 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติแคนาดา แคนาดา (สมัยที่ 1st)
รองชนะเลิศธงชาติสวีเดน สวีเดน
อันดับที่ 3ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ
อันดับที่ 4ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน26
จำนวนประตู101 (3.88 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม13,913 (535 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดเนเธอร์แลนด์ Vivianne Miedema (10 ประตู)
2016
2024

การแข่งขันกีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 – ทีมหญิง เป็น 1 ใน 2 รายการแข่งขันฟุตบอลที่โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น จะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 21 กรกฎาคม - 6 สิงหาคม ค.ศ. 2021 ครั้งนี้จัดการแข่งขันกีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกเป็นครั้งที่ 7 ในโอลิมปิกฤดูร้อน จัดขึ้น ณ สนามกีฬาใน 6 เมือง

ปฏิทินการแข่งขัน

[แก้]

เวลาทั้งหมดเป็นเวลามาตรฐานญี่ปุ่น (UTC+9).[1]

สัญลักษณ์
G รอบแบ่งกลุ่ม ¼ รอบก่อนรองชนะเลิศ ½ รองรองชนะเลิศ B รอบชิงเหรียญทองแดง F รอบชิงเหรียญทอง
22 Thu 23 Fri 24 Sat 25 Sun 26 Mon 27 Tue 28 Wed 29 Thu 30 Fri 31 Sat 1 Sun 2 Mon 3 Tue 4 Wed 5 Thu 6 Fri 7 Sat
G G G ¼ ½ B F

การคัดเลือก

[แก้]
การคัดเลือก อ้างอิง วันที่1 ประเทศที่จัดแข่งขัน1 จำนวนทีม ทีมที่เข้ารอบ
เจ้าภาพ 7 กันยายน 2013 1 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
โกปาอาเมริกาหญิง 2018 [2] 4–22 เมษายน 2018  ชิลี 1 ธงชาติบราซิล บราซิล
โอเอฟซีเนชันส์คัพหญิง 2018 [3] 18 พฤศจิกายน – 1 ธันวาคม 2018  นิวแคลิโดเนีย 1 ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์
ฟุตบอลโลกหญิง 2019
(ถือเป็นรอบคัดเลือก UEFA)
[4] 7 มิถุนายน – 7 กรกฎาคม 2019  ฝรั่งเศส 3 ธงชาติสหราชอาณาจักร บริเตนใหญ่
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์
ธงชาติสวีเดน สวีเดน
ฟุตบอลหญิงโอลิมปิกรอบคัดเลือก 2020 โซนคอนคาแคฟ [5] 28 มกราคม – 9 กุมภาพันธ์ 2020  สหรัฐ 2 ธงชาติแคนาดา แคนาดา
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ
ฟุตบอลหญิงโอลิมปิกรอบคัดเลือก ซีเอเอฟ 2020 [6] 5–10 มีนาคม 2020 Various 1 ธงชาติแซมเบีย แซมเบีย
ฟุตบอลหญิงโอลิมปิกรอบคัดเลือก เอเอฟซี 2020 [7] 6–11 มีนาคม 2020 และ 8–13 เมษายน 2021 Various 2 ธงชาติจีน จีน
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
เพลย์ออฟ 10–13 เมษายน 2021 Various 1 ธงชาติชิลี ชิลี
รวม   12  
  • ^4 วันที่และประเทศที่จัดการแข่งขันในการแข่งขันรอบสุดท้าย ส่วนในการแข่งขันรอบแรกอาจแข่งขันในสถานที่ที่แตกต่างกัน
  • ^5 อังกฤษ ได้อันดับที่ 3 ของสมาชิกยูฟ่าในการแข่งขันฟุตบอลโลก แต่อังกฤษไม่ได้เป็นสมาชิกคณะกรรมการโอลิมปิกสากล และการเจรจาที่จะให้แข่งขันในชื่อสหราชอาณาจักรไม่สำเร็จ
  • ^6 การแข่งขันโอลิมปิกครั้งแรก

สนามแข่งขัน

[แก้]

ทัวร์นาเมนต์นี้จะจัดขึ้นในเจ็ดสนามแข่งขันทั่วหกเมือง:

ผู้ตัดสิน

[แก้]

การจับสลาก

[แก้]

การจับสลากสำหรับทัวร์นาเมนต์ได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2564, 10:00 CEST (UTC+2), ที่ สำนักงานใหญ่ฟีฟ่า ใน ซือริช, ประเทศสวิตเซอร์แลนด์.[8]

โถ 1 โถ 2 โถ 3 โถ 4

รอบแบ่งกลุ่ม

[แก้]

เวลาทั้งหมดเป็นเวลามาตรฐานญี่ปุ่น (UTC+9).[9]

กลุ่ม อี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติสหราชอาณาจักร บริเตนใหญ่ 3 2 1 0 4 1 +3 7 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติแคนาดา แคนาดา 3 1 2 0 4 3 +1 5
3 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (H) 3 1 1 1 2 2 0 4
4 ธงชาติชิลี ชิลี 3 0 0 3 1 5 −4 0
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
(H) เจ้าภาพ.

ชิลี ธงชาติชิลี1–2ธงชาติแคนาดา แคนาดา
รายงาน (โตเกียว 2020)
รายงาน (ฟีฟ่า)

กลุ่ม เอฟ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 3 2 1 0 21 8 +13 7 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติบราซิล บราซิล 3 2 1 0 9 3 +6 7
3 ธงชาติแซมเบีย แซมเบีย 3 0 1 2 7 15 −8 1
4 ธงชาติจีน จีน 3 0 1 2 6 17 −11 1
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า


กลุ่ม จี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติสวีเดน สวีเดน 3 3 0 0 9 2 +7 9 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 3 1 1 1 6 4 +2 4
3 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 3 1 1 1 4 5 −1 4
4 ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ 3 0 0 3 2 10 −8 0
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า


ตารางคะแนนของทีมอันดับที่สาม

[แก้]
อันดับ กลุ่ม ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 E ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 3 1 1 1 2 2 0 4 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2 G ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 3 1 1 1 4 5 −1 4
3 F ธงชาติแซมเบีย แซมเบีย 3 0 1 2 7 15 −8 1
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
กฎการจัดอันดับ : 1) Points; 2) Goal difference; 3) Goals scored; 4) Fair play points in all group matches; 5) Drawing of lots.

รอบแพ้คัดออก

[แก้]

การแข่งขันในรอบแพ้คัดออกจะแข่งขันกันในเวลาปกติ 90 นาที หากเสมอกันจะต้องต่อเวลาพิเศษ 30 นาที โดยแบ่งเป็นครึ่งละ 15 นาที หากยังเสมอกันต้องดวลลูกโทษ เพื่อหาผู้ชนะ[11]

สายการแข่งขัน

[แก้]
 
รอบก่อนรองชนะเลิศรอบรองชนะเลิศรอบชิงเหรียญทอง
 
          
 
30 กรกฎาคม – คาชิมะ
 
 
ธงชาติสหราชอาณาจักร บริเตนใหญ่3
 
2 สิงหาคม – โยโกฮามะ
 
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
(ต่อเวลา)
4
 
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย0
 
30 กรกฎาคม – ไซตามะ
 
ธงชาติสวีเดน สวีเดน1
 
ธงชาติสวีเดน สวีเดน3
 
6 สิงหาคม – โยโกฮามะ
 
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น1
 
ธงชาติสวีเดน สวีเดน1 (2)
 
30 กรกฎาคม – โยโกฮามะ
 
ธงชาติแคนาดา แคนาดา
(ลูกโทษ)
1 (3)
 
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์2 (2)
 
2 สิงหาคม – คาชิมะ
 
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ
(ลูกโทษ)
2 (4)
 
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ0
 
30 กรกฎาคม – ริฟุ
 
ธงชาติแคนาดา แคนาดา1 รอบชิงเหรียญทองแดง
 
ธงชาติแคนาดา แคนาดา
(ลูกโทษ)
0 (4)
 
5 สิงหาคม – คาชิมะ
 
ธงชาติบราซิล บราซิล0 (3)
 
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย3
 
 
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ4
 

รอบก่อนรองชนะเลิศ

[แก้]



รอบรองชนะเลิศ

[แก้]

รอบชิงเหรียญทองแดง

[แก้]

รอบชิงเหรียญทอง

[แก้]

สถิติ

[แก้]

อันดับประจำทัวร์นาเมนต์

[แก้]

นัดที่มีผลแพ้ชนะในช่วงต่อเวลาพิเศษ จะถูกนับว่าเป็นชนะหรือแพ้ ในขณะที่นัดที่ตัดสินด้วยการยิงลูกโทษ จะถูกนับว่าเป็นการเสมอ

อันดับ กลุ่ม ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน ผลงาน
1 E ธงชาติแคนาดา แคนาดา 6 2 4 0 6 4 +2 10 เหรียญทอง
2 G ธงชาติสวีเดน สวีเดน 6 5 1 0 14 4 +10 16 เหรียญเงิน
3 G ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 6 2 2 2 12 10 +2 8 เหรียญทองแดง
4 G ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 6 2 1 3 11 13 −2 7 อันดับที่สี่
5 F ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 4 2 2 0 23 10 +13 8 ตกรอบก่อนรองชนะเลิศ
6 F ธงชาติบราซิล บราซิล 4 2 2 0 9 3 +6 8
7 E ธงชาติสหราชอาณาจักร บริเตนใหญ่ 4 2 1 1 7 5 +2 7
8 E ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (H) 4 1 1 2 3 5 −2 4
9 F ธงชาติแซมเบีย แซมเบีย 3 0 1 2 7 15 −8 1 ตกรอบแบ่งกลุ่ม
10 F ธงชาติจีน จีน 3 0 1 2 6 17 −11 1
11 E ธงชาติชิลี ชิลี 3 0 0 3 1 5 −4 0
12 G ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ 3 0 0 3 2 10 −8 0
แหล่งที่มา : TOCOG
(H) เจ้าภาพ.

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Match schedule for Tokyo 2020".
  2. "La Copa América Femenina se celebrará del 4 al 22 de abril". CONMEBOL.com. 21 July 2017.
  3. "OFC Women's Nations Cup confirmed". Oceania Football Confederation. 12 March 2018.
  4. "FIFA Women's World Cup fixtures/results". UEFA.com. 16 June 2019.
  5. "United States Set to Host 2020 CONCACAF Women's Olympic Qualifying Tournament". CONCACAF. Miami. 5 November 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-11-05. สืบค้นเมื่อ 5 November 2019.
  6. "Tokyo 2020: Sierra Leone disqualified, Angola withdraws". CAF. 5 March 2019.
  7. "Asia's elite set to vie for two Tokyo 2020 tickets". Asian Football Confederation. 2 August 2018. สืบค้นเมื่อ 16 August 2018.
  8. "Tokyo 2020 Olympic draws to be held at the Home of FIFA". FIFA. 22 March 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-03-22. สืบค้นเมื่อ 22 March 2021.
  9. "Men's Olympic Football Tournament Tokyo 2020 – Matches". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-03-21. สืบค้นเมื่อ 6 February 2020.
  10. 10.00 10.01 10.02 10.03 10.04 10.05 10.06 10.07 10.08 10.09 10.10 10.11 10.12 10.13 10.14 10.15 10.16 10.17 10.18 10.19 10.20 10.21 10.22 10.23 10.24 10.25 "Attendance Summary" (PDF). Olympics.com. 24 July 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-07-25. สืบค้นเมื่อ 24 July 2021. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "attendance" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน
  11. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ regulations