ข้ามไปเนื้อหา

กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 – รอบคัดเลือกหญิง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การแข่งขันฟุตบอลหญิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 รอบคัดเลือก เพื่อคัด 12 ทีมเข้าแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น โดยแบ่งเป็นโควต้าเจ้าจัดการแข่งขัน 1 ทีม และอีก 11 ทีมคัดโดยสมาพันธ์ฟุตบอลทั้ง 6 ทวีป [1]

ตารางการแข่งขัน

[แก้]
การคัดเลือก อ้างอิง วันที่1 ประเทศที่จัดแข่งขัน1 จำนวนทีม ทีมที่เข้ารอบ
เจ้าภาพ 7 กันยายน 2013 1 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
โกปาอาเมริกาหญิง 2018 [2] 4–22 เมษายน 2018  ชิลี 1 ธงชาติบราซิล บราซิล
โอเอฟซีเนชันส์คัพหญิง 2018 [3] 18 พฤศจิกายน – 1 ธันวาคม 2018  นิวแคลิโดเนีย 1 ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์
ฟุตบอลโลกหญิง 2019
(ถือเป็นรอบคัดเลือก UEFA)
[4] 7 มิถุนายน – 7 กรกฎาคม 2019  ฝรั่งเศส 3 ธงชาติสหราชอาณาจักร บริเตนใหญ่
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์
ธงชาติสวีเดน สวีเดน
ฟุตบอลหญิงโอลิมปิกรอบคัดเลือก 2020 โซนคอนคาแคฟ [5] 28 มกราคม – 9 กุมภาพันธ์ 2020  สหรัฐอเมริกา 2 ธงชาติแคนาดา แคนาดา
ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา
ฟุตบอลหญิงโอลิมปิกรอบคัดเลือก ซีเอเอฟ 2020 [6] 5–10 มีนาคม 2020 Various 1 ธงชาติแซมเบีย แซมเบีย
ฟุตบอลหญิงโอลิมปิกรอบคัดเลือก เอเอฟซี 2020 [7] 6–11 มีนาคม 2020 และ 8–13 เมษายน 2021 Various 2 ธงชาติจีน จีน
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
เพลย์ออฟ 10–13 เมษายน 2021 Various 1 ธงชาติชิลี ชิลี
รวม   12  
  • ^4 วันที่และประเทศที่จัดการแข่งขันในการแข่งขันรอบสุดท้าย ส่วนในการแข่งขันรอบแรกอาจแข่งขันในสถานที่ที่แตกต่างกัน
  • ^6 การแข่งขันโอลิมปิกครั้งแรก

รอบคัดเลือกยูฟ่าผ่านฟุตบอลโลกหญิง 2019

[แก้]

ทีมยูฟ่าที่ผ่านรอบคัดเลือกเข้าแข่งขันฟุตบอลโลกหญิง

[แก้]
Team Qualified as Qualification date Appearance
in finals
Last
appearance
Streak Previous best performance 2019 performance
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ UEFA qualification play-off winners 13 พฤศจิกายน 2018 2nd 2015 2 Round of 16 (2015) Runners-up
ธงชาติสวีเดน สวีเดน UEFA qualification Group 4 winners 4 กันยายน 2018 8th 2015 8 Runners-up (2003) Third place
ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ (for ธงชาติสหราชอาณาจักร บริเตนใหญ่) UEFA qualification Group 1 winners 31 สิงหาคม 2018 5th 2015 4 Third place (2015) Fourth place
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส Hosts 19 มีนาคม 2015 4th 2015 3 Fourth place (2011) Quarter-finals
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี UEFA qualification Group 5 winners 4 กันยายน 2018 8th 2015 8 Champions (2003, 2007) Quarter-finals
ธงชาติอิตาลี อิตาลี UEFA qualification Group 6 winners 8 มิถุนายน 2018 3rd 1999 1 Quarter-finals (1991) Quarter-finals
ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์ UEFA qualification Group 3 winners 4 กันยายน 2018 8th 2015 8 Champions (1995) Quarter-finals
ธงชาติสเปน สเปน UEFA qualification Group 7 winners 8 มิถุนายน 2018 2nd 2015 2 Group stage (2015) Round of 16
ธงชาติสกอตแลนด์ สกอตแลนด์ UEFA qualification Group 2 winners 4 กันยายน 2018 1st 1 Debut Group Stage

อ้างอิง

[แก้]
  1. "OC for FIFA Competitions approves procedures for the Final Draw of the 2018 FIFA World Cup". FIFA.com. 14 September 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-06-24. สืบค้นเมื่อ 2020-03-04.
  2. "La Copa América Femenina se celebrará del 4 al 22 de abril". CONMEBOL.com. 21 July 2017.
  3. "OFC Women's Nations Cup confirmed". Oceania Football Confederation. 12 March 2018.
  4. "FIFA Women's World Cup fixtures/results". UEFA.com. 16 June 2019.
  5. "United States Set to Host 2020 CONCACAF Women's Olympic Qualifying Tournament". CONCACAF. Miami. 5 November 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-11-05. สืบค้นเมื่อ 5 November 2019.
  6. "Tokyo 2020: Sierra Leone disqualified, Angola withdraws". CAF. 5 March 2019.
  7. "Asia's elite set to vie for two Tokyo 2020 tickets". Asian Football Confederation. 2 August 2018. สืบค้นเมื่อ 16 August 2018.