กองทัพนิวซีแลนด์
New Zealand Defence Force | |
---|---|
Te Ope Kaatua o Aotearoa | |
ก่อตั้ง | พ.ศ. 2388 |
รูปแบบปัจจุบัน | พ.ศ. 2410 |
เหล่า | กองทัพบกนิวซีแลนด์ ราชนาวีนิวซีแลนด์ กองทัพอากาศนิวซีแลนด์ |
กองบัญชาการ | เวลลิงตัน |
ผู้บังคับบัญชา | |
ผู้บัญชาการทหารสูงสุด | ผู้สำเร็จราชการ เคว็นทิน ไบรซ์ |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม | แอนดรูว์ ลิทเทิล |
กำลังพล | |
อายุเริ่มบรรจุ | รับอาสาสมัครอายุขั้นต่ำ 17 ปีแต่ไม่สามารถเข้าประจำการได้จนกว่าจะอายุ 18 ปี |
ประชากร วัยบรรจุ | 1,009,298 ชาย, อายุ 15–49, 997,134 หญิง, อายุ 15–49 |
ยอดประจำการ | 9,215 (มิถุนายน 2022)[1] (อันดับที่ 129) |
ยอดสำรอง | 2,321 นาย (สำรวจเมื่อ มิถุนายน 2016) |
ยอดกำลังนอกประเทศ | 672 นาย (สำรวจเมื่อ 9 ธันวาคม 2008) |
รายจ่าย | |
งบประมาณ | แม่แบบ:A$ (2013–14)[2] |
ร้อยละต่อจีดีพี | 1.56 percent[3] |
อุตสาหกรรม | |
แหล่งผลิตนอกประเทศ | สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย |
มูลค่าส่งออกต่อปี | $600 ล้าน[4] |
บทความที่เกี่ยวข้อง | |
ประวัติ | ประวัติศาสตร์ทหารของนิวซีแลนด์ |
ยศ | ยศทหารในกองทัพนิวซีแลนด์ เครื่องอิสริยาภรณ์ |
กองทัพนิวซีแลนด์ (คำย่อ: NZDF) (อังกฤษ: New Zealand Defence Force) (เมารี: Te Ope Kaatua o Aotearoa, "Line of Defence of New Zealand") เป็นองค์การทางทหารซึ่งรับผิดชอบการป้องกันประเทศนิวซีแลนด์ ประกอบด้วยกองทัพบกนิวซีแลนด์ กองทัพเรือนิวซีแลนด์ และกองทัพอากาศนิวซีแลนด์
ประวัติ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
โครงสร้าง
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
งบประมาณ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
บุคลากร
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
กำลังพลประจำการ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
กำลังพลสำรอง
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การศึกษา
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ศาลทหาร
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ความสัมพันธ์ทางทหาร
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
พันธมิตร
[แก้]กองทัพนิวซีแลนด์มีความสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นกับกองทัพออสเตรเลียในฐานะความสัมพันธ์ที่เปรียบดั่งบ้านพี่เมืองน้อง เป็นผู้ก่อตั้งกลุ่มพันธมิตรทางทหารออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ (Australian and New Zealand Army Corps) หรือที่รู้จักในนามว่า ANZAC ร่วมกับออสเตรเลีย รวมถึงยังเป็นหนึ่งในอดีตสมาชิกขององค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asia Treaty Organization) หรือ SEATO ที่ปัจจุบันถูกยุบไปแล้ว และถือเป็นหนึ่งในพันธมิตรนอกนาโต้ของสหรัฐอเมริกา
กองทัพนิวซีแลนด์เป็นหนึ่งในสมาชิกกลุ่มสนธิสัญญา Australia, New Zealand, United States Security Treaty หรือ ANZUS ซึ่งเป็นกลุ่มความร่วมมือพันธมิตรทางทหารของสามชาติคือ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และสหรัฐอเมริกา
กองทัพนิวซีแลนด์ยังเป็นหนึ่งในสมาชิกสนธิสัญญาพันธมิตรทางทหารแห่งเครือจักรภพ Five Power Defence Arrangements หรือ FPDA ซึ่งกำหนดให้มีการฝึกวงรอบประจำปีกับชาติสมาชิกเครือจักรภพทั้ง 5 ชาติได้แก่ สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย มาเลเซีย และสิงคโปร์ อีกทั้งยังมีการแลกเปลี่ยนข้อมูล บุคลากร และการฝึกทางทหารกับมิตรประเทศนอกเครือจักรภพกับ ฟิลิปปินส์ อินโดนิเซีย บรูไน ตองงา ปาปัวนิวกินี ร่วมถึงไทยด้วย
นอกประเทศ
[แก้]กองทัพนิวซีแลนด์มีบทบาทเป็นอย่างมากฐานะกองกำลังรักษาสันติภาพ ในอดีตเคยส่งกองกำลังทหารไปในฐานะกองกำลังรักษาสันติภาพภายในมติของสหประชาชาติในพื้นที่ขัดแย้งต่างๆในอดีตทั่วโลก เช่น แองโกลา กัมพูชา โซมาเลีย เลบานอน และ สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย มีส่วนร่วมในฐานะส่วนหนึ่งกองกำลังนานาชาติติมอร์ตะวันออกภายใต้มติของสหประชาชาติ International Force in East Timor หรือ INTERFET ในวิกฤตการณ์ติมอร์ตะวันออกตั้งแต่ปี ค.ศ.1999-2002 ซึ่งปัจจุบันทำหน้าที่รักษาสันติภาพในหมู่เกาะโซโลมอน ติมอร์ตะวันออก และอัฟกานิสถาน ในฐานะส่วนหนึ่งของกองกำลังรักษาปลอดภัยนานาชาติอัฟกานิสถาน International Security Assistance Force หรือ ISAF ภายใต้มติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ
อีกทั้งยังมีส่วนร่วมในฐานะผู้ฝึกสอนยุทธวิธีทางทหารให้แก่บุคลากรกองทัพอิรักในการสู้รบกับกลุ่มก่อการร้ายรัฐอิสลาม ISIS ในตะวันออกกลาง
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "NZDF Website About". 2021. สืบค้นเมื่อ 20 September 2022.
- ↑ "Minister for Defence – Budget 2013-14: Defence Budget Overview". Department of Defence. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-02-22. สืบค้นเมื่อ 14 June 2013.
- ↑ Thomson (2012), p. vi
- ↑ "Defence and Security Overview". Austrade. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-02-18. สืบค้นเมื่อ 23 July 2011.