อิหร่านกอญัร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Qajar Iran)
รัฐอิหร่านอันเลอเลิศ

دولت علیّه ایران
Dowlat-e Aliyye-ye Irān
ค.ศ. 1785–1925
ธงชาติราชวงศ์กอญัร
ธงชาติ (1906–1925)
เพลงชาติ(1873–1909)
Salâm-e Shâh
(สดุดีราชัน)

(1909–1925)
Salāmati-ye Dowlat-e Elliye-ye Irān
(สดุดีรัฐอิหร่านอันเลอเลิศ)
แผนที่ราชวงศ์กอญัรในยุคศตวรรษที่ 19
แผนที่ราชวงศ์กอญัรในยุคศตวรรษที่ 19
เมืองหลวงเตหะราน
ภาษาทั่วไปภาษาเปอร์เซีย
ภาษาอาเซอร์ไบจาน
การปกครอง
ชาฮันชาห์ 
• 1789–1797
พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด ข่าน กอญัร (พระองค์แรก)
• 1909–1925
พระเจ้าชาห์ อะห์หมัด ชาห์ กอญัร (พระองค์สุดท้าย)
นายกรัฐมนตรี 
• 1906
Mirza Nasrullah Khan (คนแรก)
• 1923–1925
เรซา ปาห์ลาวี (คนสุดท้าย)
ประวัติศาสตร์ 
• สถาปนา
ค.ศ. 1785
5 สิงหาคม ค.ศ. 1906
• ปลดสภาร่างรัฐธรรมนูญ
31 ตุลาคม ค.ศ. 1925
สกุลเงินโตมัน (1789–1825)
ควิราน (1825–1925) [1]
ก่อนหน้า
ถัดไป
ราชวงศ์แซนด์
ราชวงศ์อาฟชาริยะห์
จักรวรรดิดุรรานี
อิหร่านปาห์ลาวี
จักรวรรดิรัสเซีย
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ อาร์มีเนีย
 อาเซอร์ไบจาน
 จอร์เจีย
 อิหร่าน
 อิรัก
 รัสเซีย
 เติร์กเมนิสถาน
 ตุรกี
 ปากีสถาน
 อัฟกานิสถาน

อิหร่านกอญัร เป็นรัฐอิหร่านที่ปกครองโดยราชวงศ์กอญัรระหว่างปี ค.ศ. 1785–1925 โดยชาห์พระองค์แรกของราชวงศ์มีพระนามว่าพระเจ้าชาห์โมฮัมหมัด ข่าน กอญัรเสด็จขึ้นพระราชสมบัติเมื่อปี ค.ศ. 1789 ต่อมาภายหลังราชวงศ์กอญัรถูกโค่นล้มในการยึดอำนาจโดยเรซาข่านในปี ค.ศ. 1925

ปฐมบท[แก้]

ราชวงศ์กอญัรเป็นราชวงศ์ที่ยิ่งใหญ่ในยุคใหม่ และเป็นยุคที่นิกายชีอะห์ในอิหร่านอ่อนแอ

การก่อตั้งราชวงศ์[แก้]

ราชวงศ์กอญัรใน ค.ศ. 1789 ปีที่มีพระเจ้าชาห์โมฮัมหมัด ข่าน กอญัร ขึ้นเป็นชาฮันชาห์แห่งราชวงศ์กอญัรพระองค์แรก

การบุกยึดจอร์เจีย และ ดินแดนคอเคซัส[แก้]

การยึดกรุงTbilisi วาดโดย อัคฮา โมฮัมเม็ด ข่าน. ภาพจากBritish Library.

ภายหลังจากการเสด็จสวรรคตของชาห์นาเดอร์ อาณาจักร Kartli และ Kakheti ได้ปลดแอกจากการปกครองของชาวอิหร่าน และรวมตัวเป็นราชอาณาจักร Kartli-Kakheti ภายใต้การปกครองของกษัตริย์นาม Heraclius II (Erekle II) ในปี 1762 ซึ่งระหว่างปี 1747 ถึง 1795 Erekle สามารถรักษาเอกราชไว้ได้ตลอดยุคของราชวงศ์แซนด์ เนื่องจากเกิดความวุ่นวายภายในอิหร่าน[2] ต่อมาในปี 1783 Heraclius ได้นำอาณาจักรของพระองค์เข้าเป็นรัฐในอารักขาของจักรวรรดิรัสเซียโดยสนธิสัญญา Georgievsk ในช่วงทศวรรษท้ายๆของศตวรรษที่ 18 จอร์เจียได้กลายเป็นตัวแปรสำคัญของความสัมพันธ์ระหว่างรัสเซียและอิหร่าน ไม่เหมือนในรัชสมัยของปีเตอร์มหาราช แคทเธอรีนมหาราชินี ผู้ปกครองรัสเซียในเวลาต่อมา มองจอร์เจียเป็นจุดยุทธศาสตร์สำหรับนโยบายในภูมิภาคคอเคซัสของพระนาง และใช้จอร์เจียเป็นฐานปฏิบัติการต่อต้านอิหร่านและจักรวรรดิออตโตมัน[3] ซึ่งทั้งคู่เป็นคู่แข่งทางภูมิรัฐศาสตร์ที่มีชายแดนติดต่อกับรัสเซียโดยตรง ยิ่งไปกว่านั้น เป็นแนวคิดที่ดีหากจะมีท่าเรือเพิ่มบนชายฝั่งจอร์เจียซึ่งติดต่อทะเลดำ[4] กองทหารรักษาการณ์ของรัสเซียจำนวนสองกองพัน พร้อมด้วยปืนใหญ่สี่กระบอก ยาตราเข้าสู่เมืองทบิลีซีในปี 1784[2] แต่ก็ได้ถอนทัพออก เนื่องจากการประท้วงอย่างรุนแรงของชาวจอร์เจียน เมื่อรัสเซียก่อสงครามต่อจักรวรรดิออตโตมันในปี 1787 ก็ได้เริ่มบุกจากแนวหน้าที่อื่น[2]

การปฏิวัติรัฐธรรมนูญ[แก้]

พระฉายาลักษณ์ของพระเจ้าชาห์นัสเซอร์ อัลดิน ชาห์ กอญัร ปรากฏบนธนบัตรราคา 1 ควิราน.

การล่มสลายของราชวงศ์[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. علی‌اصغر شمیم، ایران در دوره سلطنت قاجار، ته‍ران‌: انتشارات علمی، ۱۳۷۱، ص ۲۸۷
  2. 2.0 2.1 2.2 Fisher et al. 1991, p. 328.
  3. Mikaberidze 2011, p. 327.
  4. Fisher et al. 1991, p. 327.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]