ข้ามไปเนื้อหา

กลุ่มโบราณสถานแห่งมหาพลิปุรัม

พิกัด: 12°37′00″N 80°11′30″E / 12.6167°N 80.1917°E / 12.6167; 80.1917
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Group of Monuments at Mahabalipuram)
กลุ่มโบราณสถานแห่งมหาพลิปุรัม
แหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก
ที่ตั้งมหาพลิปุรัม, อำเภอเจนคัลปัตตู, รัฐทมิฬนาฑู, ประเทศอินเดีย
รวมถึง
เกณฑ์พิจารณาวัฒนธรรม: (i), (ii), (iii), (vi)
อ้างอิง249
ขึ้นทะเบียน1984 (สมัยที่ 8th)
พิกัด12°37′00″N 80°11′30″E / 12.6167°N 80.1917°E / 12.6167; 80.1917
กลุ่มโบราณสถานแห่งมหาพลิปุรัมตั้งอยู่ในรัฐทมิฬนาฑู
กลุ่มโบราณสถานแห่งมหาพลิปุรัม
ที่ตั้งกลุ่มโบราณสถานแห่งมหาพลิปุรัม ในรัฐทมิฬนาฑู
กลุ่มโบราณสถานแห่งมหาพลิปุรัมตั้งอยู่ในประเทศอินเดีย
กลุ่มโบราณสถานแห่งมหาพลิปุรัม
กลุ่มโบราณสถานแห่งมหาพลิปุรัม (ประเทศอินเดีย)

หมู่อนุสรณ์สถานที่มหาพลิปุรัม (Group of Monuments at Mahabalipuram) เป็นกลุ่มของอนุสรณ์สถานทางศาสนาที่สร้างขึ้นในศตวรรษที่เจ็ดถึงแปดในเมืองชายฝั่งและเมืองท่องเที่ยว มหาพลีปุรัม รัฐทมิฬนาฑู ประเทศอินเดีย เป็นแหล่งมรดกโลกของยูเนสโก[1][2][3] ตั้งอยู่บนชายหาดโคโรมนเฑลบนอ่าวเบงกอล ราว 60 กิโลเมตร (37 ไมล์) ทางใต้ของเจนไน เมืองหลวงของรัฐ[1]

หมู่อาคารนี้ประกอบด้วยโบสถ์พราหมณ์ (โฆยิล) และอนุสาวรีย์ทางศาสนารวม 40 แห่ง[4] รวมถึงงานสลักหินในที่เปิดที่ใหญ่ที่สุดในโลกแห่งหนึ่งคือ บุตรธิดาแห่งคงคา หรือ การไถ่บาปของอรชุน[1][5]

โบราณสถานต่าง ๆ เหล่านี้สร้างขึ้นในสมัยจักรวรรดิปัลลวะ[2][3][6] และเป็นที่เรียกขานในชื่อของเจดีย์ทั้งเจ็ด (Seven Pagodas) ในเอกสารตีพิมพ์ยุคโคโลเนียล ในวรรณกรรมบางชิ้นเรียกขานว่าเป็น หมู่เทวสถานมามัลลปุรัม หรือ หมู่เทวสถานมหาพลีปุรัม ในงานยุคใหม่ นับตั้งแต่การบูรณะในปี 1960 หมู่โบราณสถานเหล่านี้ได้อยู่ภายใต้การดูแลของกรมศึกษาโบราณคดีอินเดีย[7]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 Mamallapuram, Encyclopedia Britannica
  2. 2.0 2.1 James G. Lochtefeld (2002). The Illustrated Encyclopedia of Hinduism: A-M. The Rosen Publishing Group. p. 399. ISBN 978-0-8239-3179-8.
  3. 3.0 3.1 "Group of Monuments at Mahabalipuram". UNESCO.org. สืบค้นเมื่อ 23 October 2012.
  4. National Geographic (2008). Sacred Places of a Lifetime: 500 of the World's Most Peaceful and Powerful Destinations. National Geographic Society. p. 154. ISBN 978-1-4262-0336-7.
  5. George Michell (1977). The Hindu Temple: An Introduction to Its Meaning and Forms. University of Chicago Press. pp. 131–134. ISBN 978-0-226-53230-1.
  6. "Advisory body evaluation" (PDF). UNESCO.org. สืบค้นเมื่อ 23 October 2012.
  7. World Heritage Sites - Mahabalipuram, Archaeological Survey of India (2014)