เคลีก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เคลีก
ก่อตั้ง1983
ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
สมาพันธ์AFC
ดิวิชันเคลีก 1
เคลีก 2
จำนวนทีม23
ถ้วยระดับประเทศเอฟเอคัพ
ถ้วยระดับนานาชาติเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก
ทีมชนะเลิศปัจจุบันช็อนบุก ฮุนไดมอเตอส์
ชนะเลิศมากที่สุดช็อนบุก ฮุนไดมอเตอส์ (8)
หุ้นส่วนโทรทัศน์KBS, SBS, MBC, TV Chosun, SPOTV+
เว็บไซต์Official Website

เค-ลีก (เกาหลี: K리그; อังกฤษ: K-League) เป็นลีกฟุตบอลอาชีพของประเทศเกาหลีใต้ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2526 จะมีการแข่งขันนัดเหย้าและเยือนโดยแข่งทั้งหมด 26 นัด เมื่อจบฤดูกาล ทีมหกอันดันแรกจะมาแข่งขันเพลย์ออฟเพื่อหาผู้ชนะเค-ลีก

ประวัติ[แก้]

ในปี พ.ศ. 2526 ได้มีการต่อลีกฟุตบอลระดับสูงสุด ในชื่อ ซูเปอร์ลีก โดยมีสมาชิกเพียง 5 สโมสร ซึ่งเป็นการแข่งขันของทีมอาชีพและทีมสมัครเล่น ต่อปีในปี 2537 สมาคมได้มีการปรับรูปแบบลีกใหม่และได้เปลี่ยนชื่อเป็นเค-ลีก และได้ขยายลีกที่มีสมาชิก 5 สโมสรเป็น 14 สโมสร

ทำเนียบแชมป์แต่ละฤดูกาล[แก้]

เคลีก (1983-2012)[แก้]

ฤดูกาล ชนะเลิศ รองชนะเลิศ
1983 Hallelujah FC Daewoo Royals
1984 Daewoo Royals Yukong Elephants
1985 Lucky-Goldstar Hwangso POSCO Atoms
1986 POSCO Atoms Luck-Goldstar Hwangso
1987 Daewoo Royals POSCO Atoms
1988 POSCO Atoms Hyundai Horang-i
1989 Yukong Elephants Lucky-Goldstar Hwangso
1990 Lucky-Goldstar Hwangso Daewoo Royals
1991 Daewoo Royals Hyundai Horang-i
1992 POSCO Atoms Ilhwa Chunma
1993 Ilhwa Chunma LG Cheetahs
1994 Ilhwa Chunma Yukong Elephants
1995 Ilhwa Chunma Pohang Atoms
1996 Ulsan Hyundai Horang-i Suwon Samsung Bluewings
1997 Pusan Daewoo Royals Chunnam Dragons
1998 Suwon Samsung Bluewings Ulsan Hyundai Horang-i
1999 Suwon Samsung Bluewings Pusan Daewoo Royals
 

2000—ปัจจุบัน

ฤดูกาล ชนะเลิศ รองชนะเลิศ
2000 อันยางแอลจีชีตาส์ ปูชอน เอสเค
2001 ซองนัมอิลห์วาชอนมา อันยางแอลจีชีตาส์
2002 ซองนัมอิลห์วาชอนมา วุลซานฮุนไดโฮรังงิ
2003 ซองนัมอิลห์วาชอนมา วุลซานฮุนไดโฮรังงิ
2004 ซูวอนซัมซุงบลูวิงส์ โปฮังสตีลเลอร์
2005 วุลซานฮุนไดโฮรังงิ อินชอนยูไนเต็ด
2006 ซองนัมอิลห์วาชอนมา ซูวอนซัมซุงบลูวิงส์
2007 โปฮังสตีลเลอร์ ซองนัมอิลห์วาชอนมา
2008 ซูวอนซัมซุงบลูวิงส์ เอฟซีโซล
2009 ชอนบุกฮุนไดมอเตอร์ ซองนัมอิลห์วาชอนมา
2010 เอฟซี โซล เชจูยูไนเต็ด
2011 ชอนบุกฮุนไดมอเตอร์ วุลซานฮุนไดโฮรังงิ
2012 เอฟซี โซล ชอนบุกฮุนไดมอเตอร์

เคลีกคลาสสิก (2013-ปัจจุบัน)[แก้]

ฤดูกาล ชนะเลิศ รองชนะเลิศ
2013 โพฮัง สตีลเลอส์ อุลซัน ฮุนได
2014 ช็อนบุก ฮุนไดมอเตอส์ ซูว็อน ซัมซุงบลูวิงส์
2015 ช็อนบุก ฮุนไดมอเตอส์ ซูว็อน ซัมซุงบลูวิงส์
2016 เอฟซีโซล ช็อนบุก ฮุนไดมอเตอส์
2017 ช็อนบุก ฮุนไดมอเตอส์ เชจูยูไนเต็ด
2018 ช็อนบุก ฮุนไดมอเตอส์ คย็องนัม
2019 ช็อนบุก ฮุนไดมอเตอส์ อุลซัน ฮุนได
2020 ช็อนบุก ฮุนไดมอเตอส์ อุลซัน ฮุนได

เคลีกแชลเลนจ์ (2013-ปัจจุบัน)[แก้]

ฤดูกาล ชนะเลิศ รองชนะเลิศ
2013 Sangju Sangmu Police FC
2014 Daejeon Citizen Gwangju FC
2015 Sangju Sangmu Suwon City

เคลีก (ฤดูกาล 2013)[แก้]

สนามของแต่ละสโมสร (2013)[แก้]

ปูซานไอพาร์ค ชอลลาดรากอนส์ สโมสรฟุตบอลแทกู แทจ็อนซิตีเซนต์ สโมสรฟุตบอลคังวอน
ปูซานอาเซดสเตเดียม ชอลยังฟุตบอลสเตเดียม แทกูสเตเดียม แทจ็อนเวิลด์คัพสเตเดียม คังวอนสเตเดียม
Capacity: 53,864 Capacity: 20,009 Capacity: 66,422 Capacity: 40,535 Capacity: 22,333
สโมสรฟุตบอลคยองซัง อินชอน ยูไนเต็ด เชจูยูไนเต็ด ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์ โปฮัง สตีลเลอส์
ชองวอนฟุตบอลเซนเตอร์ อินชอนฟุตบอลสเตเดียม เชจูเวิลด์คัพสเตเดียม ชอนจูเวิลด์คัพสเตเดียม สนามฟุตบอลสตีลยาร์ด
Capacity: 15,116 Capacity: 20,891 Capacity: 35,657 Capacity: 42,477 Capacity: 25,000
ซองนัมอิลฮวาชอนมา เอฟซีโซล ซูวอนซัมซุงบลูวิงส์ อุลซัน ฮุนได
แทจ็อนสปอร์ตคอมเพล็กซ์ โซลเวิลด์คัปสเตเดียม ซูวอนเวิลด์คัพสเตเดียม อุลซันมุนซูฟุตบอลสเตเดียม
Capacity: 16,250 Capacity: 66,806 Capacity: 43,959 Capacity: 44,474

สโมสรที่เข้าร่วม (2013)[แก้]

ผู้เล่น[แก้]

ผู้เล่นต่างชาติชื่อดัง[แก้]

แอฟริกา
เอเชีย
ยุโรป
ยุโรป (ต่อ)
อเมริกาใต้
อเมริกาใต้ (ต่อ)
อเมริกาเหนือ

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]