ข้ามไปเนื้อหา

ศิลปะการต่อสู้แบบผสม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ศิลปะการต่อสู้แบบผสม (อังกฤษ: mixed martial arts; MMA) คือ กติกาการต่อสู้ ที่ผู้เข้าแข่งขัน สามารถเอาศิลปะการต่อสู้หลายแขนงมาใช้แข่งขัน อย่างเช่น มวยไทย มวยสากล ยูโด มวยปล้ำ คาราเต้ แซมโบ บราซิลเลี่ยน ยูยิสสู มีทั้งการเตะต่อย และการทำให้คู่ต่อสู้ยอมแพ้

ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวแบบผสมผสานครั้งแรกที่ถ่ายทอดผ่านทีวีคือรายการ อัลติเมท ไฟต์ติง แชมเปียนชิพ (Ultimate Fighting Championship) ครั้งที่ 1 ใน ค.ศ.1993[ต้องการอ้างอิง] ในตอนนั้นยังไม่กฎกติกาอะไรมากนัก ก่อนมีการปรับเปลี่ยนกฎกติกาต่าง ๆ ให้เป็นที่ยอมรับมากขึ้นในวงการกีฬา ฮอยส์ เกรซี่ ซึ่งเป็นแชมป์คนแรกของรายการ UFC เป็นนักสู้ชาวบราซิล จูจิสสึ (BJJ)[ต้องการอ้างอิง]

ประวัติ

[แก้]

กฎกติกา

[แก้]

ยุคแรก

[แก้]

กฎติกาของศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวแบบผสมผสานในตอนยุคแรกๆ ใน UFC ครั้งช่วงแรก รูปการต่อสู้ที่ไม่ตายตัวไม่มีกฎกติกา แต่มีการห้ามจิ้มตา และห้ามเตะเป้าในการแข่งเป็นแพ้คัดออก ใครชนะเข้ารอบ แข่งขันวันเดียวจบ แพ้ชนะอยู่ที่การน็อกคู่ต่อสู้ ทำให้คู่ต่อสู้ยอมแพ้ และกรรมการในเวทีสั่งยุติการแข่ง

ยุคปัจจุบัน

[แก้]

กติกาการแข่งขันได้มีการพัฒนาขึ้น มีแข่งขันตามน้ำหนัก ผู้เข้าแข่งขันต้องมีการใส่ถุงมือนวม ใส่ฟันยาง มีการพักยก แพทย์สนามสั่งยุติแบบการแข่งขันมวย

ซึ่งการแข่งขันในแต่ละรายการต่างๆ กฎกติกาจะคล้ายๆกัน บางที่สามารถให้กระทืบคู่ต่อสูได้ เช่น รายการ Pride Fighting Championship ของประเทศญี่ปุ่น แต่ตอนนี้โดนยุบไปแล้วเพราะข่าวลือที่ว่า Pride FC ค้างเงินของพวกยากูซ่า[ต้องการอ้างอิง]

การแข่งขันศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวแบบผสม

[แก้]
  1. สหรัฐอเมริกา : UFC, Strikeforce, King of the cage, Gladiator Challenge, World Extreme Cagefighting (WEC)
  2. รัสเซีย : M-1
  3. บราซิล : Valetudo
  4. อังกฤษ : WOC
  5. ฮังการี : Totallfight
  6. ออสเตรเลีย : CFC
  7. ญี่ปุ่น : Shooto, Pancrase, Deep, Rizin, Dream, Sengoku
  8. เกาหลี : Spirit MC, Moosin
  9. จีน : Art of War
  10. ไต้หวัน :Ming Wu, Pro Fighting
  11. ฮ่องกง : Legend
  12. อินโดนีเซีย : TPI FC
  13. ฟิลิปปินส์ : FFC, URCC, UFX, Fight League Philippines
  14. สิงคโปร์ : Martial Combat, ONE
  15. ไทย : NAKSU

อ้างอิง

[แก้]
  • Danaher, John; Gracie, Renzo. "Phases of Combat". Human Kinetics. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-08-18. สืบค้นเมื่อ 2006-02-11.{{cite web}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  • Gentry, Clyde (2005). No Holds Barred: Ultimate Fighting and the Martial arts Revolution. Milo Books. ISBN 978-1903854303.
  • Kallini, Christopher; Meyer, Rob. "rec.martial-arts FAQ". Internet FAQ Archives. สืบค้นเมื่อ 2006-02-11.{{cite web}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  • Kesting, Stephan. "The MMA Formula: Striking + Takedowns + Groundwork". Grapple Arts. สืบค้นเมื่อ 2006-02-06.
  • "Official MMA Rankings". Sherdog. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-04-21. สืบค้นเมื่อ 2006-02-06.
  • "Nevada Administrative Code, Chapter 467, Unarmed Combat: MMA Rules Explained" (PDF). Nevada State Athletic Commission. August 11, 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2006-06-15. สืบค้นเมื่อ 2006-06-18.
  • Plotz, David (November 11, 1997). "Fight Clubbed". Slate. สืบค้นเมื่อ 2006-12-26.
  • Pratt, Ryan. "Sport Specific Training for MMA (Mixed Martial arts)". Grapple Arts. สืบค้นเมื่อ 2006-02-06.
  • "Ninjashoes.net Mixed Martial Arts Rankings". Ninjashoes. สืบค้นเมื่อ 2010-03-31.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]