วิลเลียม แลมบ์ ไวเคานต์เมลเบิร์นที่ 2

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เดอะไรต์ออนะระเบิล
ไวเคานต์เมลเบิร์น
นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร
ดำรงตำแหน่ง
18 เมษายน 1835 – 30 สิงหาคม 1841
กษัตริย์ พระเจ้าวิลเลียมที่ 4
พระราชินีนาถวิกตอเรีย
ก่อนหน้า เซอร์ โรเบิร์ต พีล
ถัดไป เซอร์ โรเบิร์ต พีล
ดำรงตำแหน่ง
16 กรกฎาคม 1834 – 14 พฤศจิกายน 1834
กษัตริย์ พระเจ้าวิลเลียมที่ 4
ก่อนหน้า เอิร์ลเกรย์
ถัดไป ดยุกแห่งเวลลิงตัน
ผู้นำฝ่ายค้าน
ดำรงตำแหน่ง
30 สิงหาคม 1841 – ตุลาคม 1842
กษัตริย์ พระราชินีนาถวิกตอเรีย
นายกรัฐมนตรี เซอร์ โรเบิร์ต พีล
ก่อนหน้า เซอร์ โรเบิร์ต พีล
ถัดไป ลอร์ด จอห์น รัสเซลล์
ดำรงตำแหน่ง
14 พฤศจิกายน 1834 – 18 เมษายน 1835
กษัตริย์ พระเจ้าวิลเลียมที่ 4
นายกรัฐมนตรี เซอร์ โรเบิร์ต พีล
ก่อนหน้า ดยุกแห่งเวลลิงตัน
ถัดไป เซอร์ โรเบิร์ต พีล
รัฐมนตรีปิตุภูมิ
ดำรงตำแหน่ง
22 พฤศจิกายน 1830 – 16 กรกฎาคม 1834
นายกรัฐมนตรี เอิร์ลเกรย์
ก่อนหน้า เซอร์ โรเบิร์ต พีล
ถัดไป ไวเคานต์ดุนแคนนอน
เสนาเอกแห่งไอร์แลนด์
ดำรงตำแหน่ง
29 เมษายน 1827 – 21 มิถุนายน 1828
ก่อนหน้า เฮนรี โกลบรุน
ถัดไป ลอร์ลฟรานซิส ลีฟสัน-โกเวอร์
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด 15 มีนาคม ค.ศ. 1779(1779-03-15)
ลอนดอน, อังกฤษ
เสียชีวิต 24 พฤศจิกายน ค.ศ. 1848(1848-11-24) (69 ปี)
บรอคเก็ตฮอลล์, ฮาร์ตฟอร์ดเชอร์
พรรค พรรควิก
คู่สมรส Lady Caroline Lamb
บุตร 2
ศาสนา คริสตจักรแห่งอังกฤษ
ลายมือชื่อ Cursive signature in ink

วิลเลียม แลมบ์ ไวเคานต์เมลเบิร์นที่ 2 (อังกฤษ: William Lamb, 2nd Viscount Melbourne) หรือนามเรียกขานคือ ท่านลอร์ดเมลเบิร์น เป็นรัฐบุรุษของอังกฤษจากพรรควิก ผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรสองสมัย เขายังเป็นผู้อบรมสั่งสอนสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียในสมัยที่พระนางทรงพระเยาว์ ด้วยเหตุนี้พระนางจึงทรงนับถือเขาเป็นเสมือนบิดา[1] ทำให้ลอร์ดเมลเบิร์นค่อนข้างมีอิทธิพลทางการเมืองครอบงำพระนาง แต่เขาก็ได้รับการบันทึกไว้ว่าเป็นคนดี ซื่อตรง และไม่เห็นแก่ตน[2] ในปี 1834 เขาถูกให้ออกจากตำแหน่งโดยพระเจ้าวิลเลียมที่ 4 ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีคนสุดท้ายของสหราชอาณาจักรที่ถูกให้ออกจากตำแหน่งโดยราชสำนัก

อ้างอิง[แก้]

  1. "History of William Lamb, 2nd Viscount Melbourne - GOV.UK". www.gov.uk. สืบค้นเมื่อ 30 September 2016.
  2. J. A. Cannon " Melbourne, William Lamb, 2nd Viscount," in John Cannon, ed., The Oxford Companion to British History (2009) p 634

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]