วอลเลย์บอลยุวชนอายุไม่เกิน 16 ปี ชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วอลเลย์บอลยุวชนอายุไม่เกิน 16 ปี ชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย
กีฬาวอลเลย์บอล
ก่อตั้งพ.ศ. 2532
จำนวนทีมชาย: 16 ทีม
หญิง: 16 ทีม
ประเทศ ไทย
ทวีปเอวีซี (เอเชีย)
ทีมชนะเลิศสูงสุดชาย: โรงเรียนขามทะเลสอวิทยา (4 สมัย)
หญิง: โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6 (5 สมัย)[1]

วอลเลย์บอลยุวชนอายุไม่เกิน 16 ปี ชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย หรือ วอลเลย์บอลยุวชน “เอสโคล่า” รุ่นอายุไม่เกิน 16 ปี ชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย ตามชื่อผู้สนับสนุนคือ เอส โคล่า เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับยุวชนรุ่นอายุไม่เกิน 16 ปี ของประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2532[ต้องการอ้างอิง] จัดการแข่งขันโดยสมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่งประเทศไทย ภายใต้การสนับสนุนของ บริษัท ไทยดริ้งค์ จำกัด ผู้ผลิตเครื่องดื่ม เอส โคล่า[2] ซึ่งรายการนี้ถือเป็นอีกหนึ่งรายการที่สำคัญและเป็นการแข่งขันที่พัฒนานักกีฬาวอลเลย์บอลเยาวชนเพื่อก้าวไปสู่ทีมชาติต่อไปในอนาคต[3] โดยทีมที่ชนะเลิศจะได้รับรางวัลถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี[4]

ทำเนียบแชมป์[แก้]

ประเภททีมชาย[แก้]

ปี จังหวัดเจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับ 3 จำนวนทีม
ชนะเลิศ คะแนน รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 คะแนน อันดับที่ 4
2556  เชียงราย โรงเรียนขามทะเลสอวิทยา
(จังหวัดนครราชสีมา)
โรงเรียนหนองกุงศรีวิทยาคาร
(จังหวัดกาฬสินธุ์)
2557  นครราชสีมา โรงเรียนขามทะเลสอวิทยา
(จังหวัดนครราชสีมา)
โรงเรียนภูเขียว
(จังหวัดชัยภูมิ)
2558[5]  ชลบุรี โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม
(จังหวัดนครสวรรค์)
3–0 โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม
(จังหวัดสระบุรี)
โรงเรียนหนองกุงศรีวิทยาคาร (จังหวัดกาฬสินธุ์) และ โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6 (จังหวัดนนทบุรี)
2559[6]  ชลบุรี โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม
(จังหวัดนครสวรรค์)
3–1 โรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี
(จังหวัดสุพรรณบุรี)
โรงเรียนท่าข้ามพิทยาคม (จังหวัดชลบุรี) และ โรงเรียนเพชรวิทยาคาร (จังหวัดชัยภูมิ)
2560[7]  นครศรีธรรมราช โรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี
(จังหวัดสุพรรณบุรี)
3–1 โรงเรียนอัสสัมชัญ
(กรุงเทพมหานคร)
โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม (จังหวัดสระบุรี) และ โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ หอวัง นนทบุรี (จังหวัดนนทบุรี)
2561[8]  ชัยภูมิ โรงเรียนอัสสัมชัญ
(กรุงเทพมหานคร)
3–1 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ หอวัง นนทบุรี
(จังหวัดนนทบุรี)
โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม (จังหวัดสระบุรี) และ โรงเรียนท่าข้ามพิทยาคม (จังหวัดชลบุรี) 22
2562[9]  เพชรบูรณ์ โรงเรียนอัสสัมชัญ
(กรุงเทพมหานคร)
3–1 โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม
(จังหวัดนครสวรรค์)
โรงเรียนชุมแพศึกษา (จังหวัดขอนแก่น) และ โรงเรียนขามทะเลสอวิทยา (จังหวัดนครราชสีมา) 16
2563[10]  นครศรีธรรมราช โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม
(จังหวัดนครสวรรค์)
3–1 โรงเรียนอัสสัมชัญ
(กรุงเทพมหานคร)
โรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี (จังหวัดสุพรรณบุรี) และ โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม (จังหวัดสระบุรี) 16
2564[11]  สุพรรณบุรี โรงเรียนขามทะเลสอวิทยา
(จังหวัดนครราชสีมา)
3–2 โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม
(จังหวัดนครสวรรค์)
โรงเรียนอัสสัมชัญ (กรุงเทพมหานคร) และ โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดร้อยเอ็ด (จังหวัดร้อยเอ็ด) 16
2565[12]  นครราชสีมา โรงเรียนขามทะเลสอวิทยา
(จังหวัดนครราชสีมา)
3–1 โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม
(จังหวัดสระบุรี)
โรงเรียนอัสสัมชัญ
(กรุงเทพมหานคร)
3–0 โรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี
(จังหวัดสุพรรณบุรี)
16

ประเภททีมหญิง[แก้]

ปี จังหวัดเจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับ 3 จำนวนทีม
ชนะเลิศ คะแนน รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 คะแนน อันดับที่ 4
2556  เชียงราย โรงเรียนสตรีนนทบุรี
(จังหวัดนนทบุรี)
โรงเรียนสว่างแดนดิน
(จังหวัดสกลนคร)
2557  นครราชสีมา โรงเรียนหนองเรือวิทยา
(จังหวัดขอนแก่น)
โรงเรียนสตรีนนทบุรี
(จังหวัดนนทบุรี)
2558[13]  ชลบุรี โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)
(กรุงเทพมหานคร)
3–0 โรงเรียนสตรีนนทบุรี
(จังหวัดนนทบุรี)
โรงเรียนอุลิตไพบูลย์ชนูปถัมภ์ (จังหวัดชัยนาท) และ โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สุพรรณบุรี (จังหวัดสุพรรณบุรี)
2559[6]  ชลบุรี โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6
(จังหวัดนนทบุรี)
3–0 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี
(จังหวัดนนทบุรี)
โรงเรียนหนองเรือวิทยา (จังหวัดขอนแก่น) และ โรงเรียนลำปลายมาศ (จังหวัดบุรีรัมย์)
2560[14]  นครศรีธรรมราช โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6
(จังหวัดนนทบุรี)
3–0 โรงเรียนชุมชนป้อมเพชร
(จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี (จังหวัดนนทบุรี) และ โรงเรียนเทศบาล 3 วัดไชนาวาส (จังหวัดสุพรรณบุรี)
2561[8]  ชัยภูมิ โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6
(จังหวัดนนทบุรี)
3–0 โรงเรียนสตรีสิริเกศ
(จังหวัดศรีสะเกษ)
วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการอยุธยา (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) และ โรงเรียนเทศบาล 3 วัดไชนาวาส (จังหวัดสุพรรณบุรี) 31
2562[9]  เพชรบูรณ์ โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6
(จังหวัดนนทบุรี)
3–0 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี
(จังหวัดนนทบุรี)
โรงเรียนชุมชนป้อมเพชร (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) และ โรงเรียนหนองเรือวิทยา (จังหวัดขอนแก่น) 16
2563[10]  นครศรีธรรมราช โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6
(จังหวัดนนทบุรี)
3–0 โรงเรียนชุมชนป้อมเพชร
(จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)
โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) (กรุงเทพมหานคร) และ วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการอยุธยา (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) 16
2564[11]  สุพรรณบุรี โรงเรียนสุรนารีวิทยา
(จังหวัดนครราชสีมา)
3–2 โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6
(จังหวัดนนทบุรี)
โรงเรียนสตรีสิริเกศ (จังหวัดศรีษะเกษ) และ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) 16
2565[12]  นครราชสีมา โรงเรียนสมานคุณวิทยาทาน
(จังหวัดสงขลา)
3–0 โรงเรียนเทพมงคลรังษี
(จังหวัดกาญจนบุรี)
โรงเรียนเทศบาล 1 (เอ็งเสียงสามัคคี)
(จังหวัดสงขลา)
3–1 โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6
(จังหวัดนนทบุรี)
16

จำนวนครั้งที่ชนะเลิศ[แก้]

ประเภททีมชาย[แก้]

โรงเรียน ครั้ง ปีที่ชนะเลิศ
โรงเรียนขามทะเลสอวิทยา 4 2556, 2557, 2564, 2565
โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม 3 2558, 2559, 2563
โรงเรียนอัสสัมชัญ 2 2561, 2562
โรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี 1 2560

ประเภททีมหญิง[แก้]

โรงเรียน ครั้ง ปีที่ชนะเลิศ
โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6 5 2559, 2560, 2561, 2562, 2563
โรงเรียนชุมชนวัดหนองค้อ 1 2566
โรงเรียนสมานคุณวิทยาทาน
1
2565
โรงเรียนสุรนารีวิทยา 2564
โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) 2558
โรงเรียนหนองเรือวิทยา 2557
โรงเรียนสตรีนนทบุรี 2556

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "ทำเนียบแชมป์การแข่งขันวอลเลย์บอลยุวชน 'เอสโคล่า'". smmsport. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-17. สืบค้นเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2023.
  2. "ส.ลูกยางฯ แถลงจัดศึกยุวชน U16 เอสโคล่า ปี65". INN News. สืบค้นเมื่อ 2023-02-17.
  3. "วางรากฐาน! จัดชิงชัยลูกยางยุวชน 'เอสโคล่า' คัดเลือก 6 ภาค ต่อยอดปั้นสู่ทีมชาติ". มติชนออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 2023-02-17.
  4. "จัดตบยุวชน 16ปี เอสโคล่า ทั่วไทย 6 สนาม ชิงที่นครศรีธรรมราช". มติชนออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 2023-02-17.
  5. "มัชฌิม เชือดโหด สระบุรี คว้าแชมป์ลูกยางยุวชน เอสโคล่า". smmsport. สืบค้นเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2023.[ลิงก์เสีย]
  6. 6.0 6.1 "หนุ่มสุพรรณฯ ควง สาววัดไชนาวาส ซิวแชมป์ตบเอสโคล่าภาคกลาง". smmsport. สืบค้นเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2023.[ลิงก์เสีย]
  7. "ชิงครั้งแรก! โค้ชสนั่น ยกนิ้วชมลูกทีมจบรองแชมป์เอสโคล่า". smmsport. สืบค้นเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2023.[ลิงก์เสีย]
  8. 8.0 8.1 "นครนนท์ แชมป์ 3 ปีซ้อน - อัสสัมชัญ ครองถ้วยครั้งแรก เอสโคล่า 2561". smmsport. สืบค้นเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2023.[ลิงก์เสีย]
  9. 9.0 9.1 "สรุปผลวอลเลย์บอล เอสโคล่า รอบประเทศ : รอบชิงชนะเลิศ". volleyball.or.th. สืบค้นเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2023.
  10. 10.0 10.1 "นครนนท์ แชมป์ 5 ปีซ้อน-มัชฌิม ครองมากสุด 3 สมัย ศึก 'เอสโคล่า'". smmsport. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-18. สืบค้นเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2023.
  11. 11.0 11.1 "กีฬาสุพรรณบุรี ควง ป้อมเพชร คว้าแชมป์ 'เอสโคล่า' U14". smmsport. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-17. สืบค้นเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2023.
  12. 12.0 12.1 "ขามทะเลสอ ป้องแชมป์-สมานคุณ ซิวถ้วยหนแรก 'เอสโคล่า' U16". smmsport. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-17. สืบค้นเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2023.
  13. "บดินทรฯ ดับ สตรีนนท์ ซิวแชมป์ยุวชน เอสโคล่า". smmsport. สืบค้นเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2023.[ลิงก์เสีย]
  14. "'โค้ชด้วง' ปลื้มนครนนท์ซิวแชมป์เอสโคล่ารุ่น 16 ปี 2 สมัยซ้อน". smmsport. สืบค้นเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2023.[ลิงก์เสีย]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]