สตาวังเงอร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สตาวังเงอร์
เทศบาล
ตราราชการของสตาวังเงอร์
ตราอาร์ม
สมญา: 
The Oil Capital
สตาวังเงอร์ตั้งอยู่ในนอร์เวย์
สตาวังเงอร์
สตาวังเงอร์
พิกัด: 58°57′48″N 5°43′8″E / 58.96333°N 5.71889°E / 58.96333; 5.71889พิกัดภูมิศาสตร์: 58°57′48″N 5°43′8″E / 58.96333°N 5.71889°E / 58.96333; 5.71889
ประเทศนอร์เวย์
เทศบาลสตาวังเงอร์
เทศมณฑลรูกาลัน
DistrictJæren
Establishedค.ศ. 1125
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีLeif Johan Sevland
พื้นที่
 • เทศบาล71 ตร.กม. (27 ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง77.98 ตร.กม. (30.11 ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล2,598 ตร.กม. (1,003 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (ค.ศ. 2011)
 • เทศบาล126,469 คน
 • ความหนาแน่น1,800 คน/ตร.กม. (4,600 คน/ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง197,852 คน
 • ความหนาแน่นเขตเมือง2,500 คน/ตร.กม. (6,600 คน/ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล297,569 คน
 • ความหนาแน่นรวมปริมณฑล110 คน/ตร.กม. (300 คน/ตร.ไมล์)
 • อันดับเทศบาล/เขตเมืองที่ 4/ที่ 3
 • อันดับรวมปริมณฑลที่ 3
เดมะนิมSiddis
กลุ่มชาติพันธุ์[1]
 • ชาวนอร์เวย์84.8%
 • Poles1.4%
 • ชาวบริติช1.1%
 • Turks0.9%
 • Somalis0.6%
เขตเวลาUTC+1 (CET)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC+2 (CEST)
เว็บไซต์http://www.stavanger.kommune.no

สตาวังเงอร์ (นอร์เวย์: Stavanger, ภาษานอร์เวย์: [stɑˈvɑ̀ŋːər] ( ฟังเสียง)) เป็นเมืองและเทศบาลในเทศมณฑลรูกาลัน ประเทศนอร์เวย์ ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศ เป็นเมืองท่าทางทะเล บนฟยอร์ดสตาวังเงอร์ ผลิตปลากระป๋อง ต่อเรือ เป็นศูนย์ประสานงานของการขุดเจาะน้ำมันนอกชายฝั่ง[2]

ภูมิศาสตร์[แก้]

ภูมิอากาศ[แก้]

ตั้งอยู่บนชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ของนอร์เวย์ สภาพภูมิอากาศของสตาวังเงอร์ ได้รับอิทธิพลอย่างมากจากอุณหภูมิปานกลางของทะเลเหนือ และความกดอากาศต่ำในมหาสมุทรแอตแลนติกทำให้อากาศอบอุ่นในฤดูหนาว สิ่งนี้สร้างอุณหภูมิที่อุ่นขึ้นตลอดทั้งปีเมื่อเทียบกับเมืองอื่น ๆ ที่มีละติจูดใกล้เคียงกัน และยังให้ปริมาณหยาดน้ำฟ้ามากในรูปของฝน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงปลายฤดูใบไม้ร่วงและฤดูหนาว ตามการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิพเพิน สตาวังเงร์มีภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้นภาคพื้นสมุทร (Cfb) โดยในหนึ่งปีมีห้าเดือนมีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงกว่า 10 °C (50 °F) ฤดูใบไม้ผลิและต้นฤดูร้อนเป็นฤดูที่แห้งแล้งที่สุด สถิติสูงสุดที่เคยบันทึกได้ที่สถานีตรวจวัดที่ท่าอากาศยานสตาวังเงร์คือ 33.5 °C (92.3 °F) ถูกบันทึกในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1975 ส่วนสถิติสูงสุดที่สูงที่สุดของเมืองคือ 34.4 °C (93.9 °F) ที่สถานีตรวจอากาศ สตาวังเงร์-โวลันด์ (สูง 72 ม.) ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2018 เดือนที่อากาศร้อนที่สุดเป็นประวัติการณ์ตรวจวัดที่ท่าอากาศยานคือเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2002 โดยมีค่าเฉลี่ย 19.3 °C (66.7 °F) และสูงสุดเฉลี่ยต่อวัน 23.2 °C (73.8 °F) อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึกได้คือ −19.8 °C (−3.6 °F) ถูกบันทึกไว้ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1987 เดือนที่หนาวที่สุดในบันทึกคือกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1963 โดยมีค่าเฉลี่ย −5 °C (23 °F) และต่ำสุดเฉลี่ยต่อวัน −9.6 °C (14.7 °F)

ข้อมูลภูมิอากาศของท่าอากาศยานสตาวังเงร์, โซลา ค.ศ. 1991–2020 (สูง 7 ม., สูงสุด-ต่ำสุด: 1947–2020, ชั่วโมงที่มีแดด: 1961–1990)
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 12.4
(54.3)
13.9
(57)
17.7
(63.9)
25.2
(77.4)
29.4
(84.9)
30.5
(86.9)
32.5
(90.5)
33.5
(92.3)
26.7
(80.1)
22.3
(72.1)
16.2
(61.2)
12
(54)
33.5
(92.3)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 5
(41)
4
(39)
7
(45)
10
(50)
14
(57)
16
(61)
19
(66)
19
(66)
16
(61)
12
(54)
8
(46)
5
(41)
11.3
(52.3)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 2.6
(36.7)
2.1
(35.8)
3.7
(38.7)
6.9
(44.4)
10.2
(50.4)
13
(55)
15.3
(59.5)
15.7
(60.3)
13.2
(55.8)
9.2
(48.6)
5.7
(42.3)
3.4
(38.1)
8.42
(47.15)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 1
(34)
0
(32)
1
(34)
4
(39)
7
(45)
10
(50)
13
(55)
13
(55)
11
(52)
7
(45)
4
(39)
1
(34)
5.5
(41.9)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) −19.8
(-3.6)
−19.2
(-2.6)
−16.2
(2.8)
−7.9
(17.8)
−2.5
(27.5)
0.6
(33.1)
4.3
(39.7)
1.2
(34.2)
−2.5
(27.5)
−5.2
(22.6)
−16.1
(3)
−16.1
(3)
−19.8
(−3.6)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 118.5
(4.665)
99.6
(3.921)
80.5
(3.169)
62.5
(2.461)
62.1
(2.445)
67.3
(2.65)
91.2
(3.591)
126.5
(4.98)
132
(5.2)
148.3
(5.839)
135.2
(5.323)
132.4
(5.213)
1,256.1
(49.453)
ความชื้นร้อยละ 82 81 78 77 75 78 78 80 80 81 82 82 79.5
วันที่มีหยาดน้ำฟ้าโดยเฉลี่ย (≥ 1.0 มม.) 13.7 10.4 11.9 9.9 10.7 10.6 10.8 14.0 16.9 16.7 17.7 15.6 158.9
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 48 79 140 168 226 222 197 159 141 80 45 33 1,538
แหล่งที่มา 1: yr.no/met.no[3] NOAA (เฉพาะความชื้นสัมพัทธ์)[4]
แหล่งที่มา 2: Weatheronline (เฉลี่ย สูง/ต่ำ) [5]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Immigrants and Norwegian-born to immigrant parents by country of birth1, (the 20 largest groups).Selected municipalities.1 January 2009". Statistics Norway. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-09-17. สืบค้นเมื่อ 2010-06-01.
  2. "Stavanger kommune – Oljebyen". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 June 2008.
  3. "climate statistics Sola".
  4. yr.no Sola (Stavanger Airport) Climate Normals: 1961-1990, National Oceanic and Atmospheric Administration, สืบค้นเมื่อ 31 December 2017
  5. "Weatheronline climate robot". สืบค้นเมื่อ 4 April 2021.