มิสยูไนเต็ดคอนติเนนท์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
มิสยูไนเต็ดคอนติเนนท์
ก่อตั้งค.ศ. 2006
ประเภทการประกวดความงาม
ที่ตั้ง
ภาษาทางการ
สเปน, อังกฤษ
ผู้อำนวยการประกวด
มาเรีย อากวาโฮ
เว็บไซต์เว็บไซต์หลักอย่างเป็นทางการ

มิสยูไนเต็ดคอนติเนนต์ (อังกฤษ: Miss United Continents) เป็นเวทีการประกวดนางงามเวทีหนึ่ง โดยเริ่มจัดการประกวดครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 2006 ที่ ประเทศเอกวาดอร์ เดิมทีการประกวดนั้นได้มีการประกวดเฉพาะในกลุ่มประเทศลาตินอเมริกาเท่านั้น จนในปี ค.ศ. 2013 ก็ได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบการประกวด โดยเริ่มเปิดโอกาสให้ผู้เข้าประกวดจากทวีปอื่นๆ สามารถเข้าร่วมประกวดได้ด้วย[1]

ผู้ชนะการประกวด[แก้]

ปี ประเทศ/ดินแดน ผู้ดำรงตำแหน่ง เจ้าภาพ ผู้เข้าประกวด
2006 ธงของสาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน มีอา ลูร์เดส ตาเวรัส เอกวาดอร์ กวายากิล, เอกวาดอร์ 21
2007 ธงของสาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน (2) มารีอันเน ครูซ 22
2008 ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก มารีอา กอนซาเลซ 20
2009 ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย ลีนา มอสเกรา 20
2010 ธงของประเทศเปรู เปรู จูลีอานา ซีวัลลอส 20
2011 ธงของประเทศเอกวาดอร์ เอกวาดอร์ คลาวเดีย สชีสส์ 21
2012 ธงของประเทศบราซิล บราซิล กามีลา ลิมา 21
2013 ธงของประเทศเอกวาดอร์ เอกวาดอร์ (2) แคโรลีนา เปเรซ 27
2014 ธงของสาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน (3) จีซา มอนเตส 31
2015 ธงของประเทศบราซิล บราซิล (2) นาตาเลีย ลาโก[2] 28
2016 ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ เจสลีน ซานโตส[3] 28
2017 ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย ทาเทียนา ซิมเฟอร์[4][5] 33
2018 ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก (2) แอนเดรีย ซีนซ์ 33
2019 ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย (2) อาเนียริส คาดาวิด 32
2022 ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ (2) คาเมล เมอร์คาโด 27

ผู้ชนะเรียงตามจำนวนครั้ง[แก้]

ประเทศ/ดินแดน จำนวน ปีที่ชนะ
ธงของสาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน
3
2006, 2007, 2014
ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
2
2016, 2022
ธงของประเทศบราซิล บราซิล 2012, 2015
ธงของประเทศเอกวาดอร์ เอกวาดอร์ 2011, 2013
ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก 2008, 2018
ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย 2009, 2019
ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย
1
2017
ธงของประเทศเปรู เปรู 2010

จำนวนผู้ชนะเลิศแบ่งตามภูมิภาค[แก้]

ทวีป จำนวน ประเทศ
20x20px[ลิงก์เสีย] อเมริกา 12 สาธารณรัฐโดมินิกัน (3), บราซิล (2), เอกวาดอร์ (2), เปรู (1), เม็กซิโก (2) และ โคลอมเบีย (2)
20x20px[ลิงก์เสีย] เอเชีย 2 ฟิลิปปินส์ (2)
ยุโรป 1 รัสเซีย (1)
20x20px[ลิงก์เสีย] แอฟริกา 0
20x20px[ลิงก์เสีย] โอเชียเนีย 0

รองชนะเลิศ[แก้]

ปี รองอันดับ 1 รองอันดับ 2 รองอันดับ 3 รองอันดับ 4 รองอันดับ 5
2022 Ivanova Vélez
ธงของประเทศเอกวาดอร์ เอกวาดอร์
Karen Ortiz
ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย
Lis Arbelaes
ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา
Gretha Matiauda
ธงของประเทศปารากวัย ปารากวัย
Ayram Ortiz
ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก
2019 เอลิซ่า ควินโนเดซ
ธงของประเทศเอกวาดอร์ เอกวาดอร์
เคเนีย พอนซ
ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก
มณีรัตน์ แดงประเสริฐ
 ไทย
ชารอท มิลาเลซ
ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
เนรีน ซูเต
ธงของประเทศแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้
2018 ไซมั่น เกดแกร็ด
ธงของประเทศเดนมาร์ก เดนมาร์ก
อนา แคทลีนา มูทัน
ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย
ซินเทีย รูซ โลเปซ
ธงของประเทศสเปน สเปน
เบลินด์ เบลล่า
ธงของประเทศแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้
นันทภัค ไกรหา
 ไทย
2017 อาลีนา พีกัน
ธงของประเทศยูเครน ยูเครน
โรซานา เรเยส
ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก
ทวีพร พริ้งจำรัส
 ไทย
เยนิเฟอร์ เฮอร์นันเดซ
ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย
เจซี โรดริเกซ
ธงของสาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน
2016 เมตตี รีส โซเรนเซน
ธงของประเทศเดนมาร์ก เดนมาร์ก
โลพามูดรา ราต
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
เทย์นารา การ์กันตีนี
ธงของประเทศบราซิล บราซิล
ซินเธีย ดูเก การ์ซา
ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก
รีตา ซิลเวสเตร
ธงของประเทศปานามา ปานามา
2015 ดาเนียลา คาสตานีดา
ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย
มีเรียม อารีวาลอส
ธงของประเทศปารากวัย ปารากวัย
มาเรีย พาดิลลา
ธงของประเทศเอกวาดอร์ เอกวาดอร์
ซุชรี ชเรยา มิชรา
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
คิมเบอร์ลี คาสติลโล
ธงของสาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน
2014 ไว เมย์ มาร์เกซ
ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา
เกล นิโคล ดา ซิลวา
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
พอลลา รูอิซ
ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย
แอนนา ซาร์ดีกา
ธงของประเทศยูเครน ยูเครน
จูเลีย ฟรีสัน
ธงของประเทศปารากวัย ปารากวัย
2013 พูร์วา รานา
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
มาเรีย บีเลน เจเรซ
ธงของประเทศชิลี ชิลี
เชอรีน แดนดอย
ธงของประเทศเบลเยียม เบลเยียม
คามิลา เวซโซโซ
ธงของประเทศอุรุกวัย อุรุกวัย
มาเรีย ซีอาลี
ธงของประเทศปานามา ปานามา
2012 มารีเซลี กอนซาเลซ
ธงของประเทศปานามา ปานามา
โจเซฟีนา เฮอร์เรโร
ธงของประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา
ไม่มีผู้ได้รับรางวัล
2011 ดาเลีย เฟอร์นันเดซ
ธงของสาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน
บลังกา มอนตาโน
ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก
2010 คาร์ลา คาร์ริลโล
ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก
มารีเลีย ลีลา
ธงของประเทศบราซิล บราซิล
2009 เดนิซ อาลีเซรัล
ธงของประเทศบราซิล บราซิล
ซานดรา วินเซส
ธงของประเทศเอกวาดอร์ เอกวาดอร์
2008 คริสตินา รุยซานเชซ
ธงของปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก
โดเมนิกา ซาพอริตตี
ธงของประเทศเอกวาดอร์ เอกวาดอร์
2007 ฟรานซิส ลูโก
ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา
กลาดิส คาสเตลลาโนส
ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก
2006 ฟาติมีห์ โซซา
ธงของประเทศอุรุกวัย อุรุกวัย
ดายานา โคลมีนาเรส
ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา

ตัวแทนประเทศไทย[แก้]

ปี ผู้ดำรงตำแหน่ง จังหวัด ตำแหน่งในการประกวด รางวัลพิเศษ
2019 มณีรัตน์ แดงประเสริฐ ตราด รองอันดับ 3 รองอันดับ 1 - ชุดประจำชาติยอดเยี่ยม
2018 นันทภัค ไกรหา บุรีรัมย์ รองอันดับ 5 ขวัญใจช่างภาพ
2017 ทวีพร พริ้งจำรัส จันทบุรี รองอันดับ 3 ขวัญใจช่างภาพ
ชุดประจำชาติยอดเยี่ยม
2016 บุญญาณี สังข์ภิรมย์ นครปฐม เข้ารอบ 10 คนสุดท้าย
2014 นุรไลลา บินมามะ ปัตตานี ไม่ผ่านเข้ารอบ

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Miss Continentes Unidos 2015" (ภาษาสเปน). misscontinenteunidos. สืบค้นเมื่อ 9 พฤศจิกายน 2017.
  2. "Nathalia Lago, Miss Brazil, is Miss United Continents 2015". thegreatpageantcommunity (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 9 พฤษจิกายน 2017. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. "PH wins Miss United Continents 2016". abs-cbn (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 9 พฤษจิกายน 2017. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  4. "แหลมทิ่มแรงอินเตอร์ อุ้ม นางงามทุเรียน คว้าไปแล้วชุดยอดเยี่ยม". thairath.co.th. สืบค้นเมื่อ 9 พฤศจิกายน 2017.
  5. "ต้อนรับ "อุ้ม-ทวีพร" คว้ารองอันดับ 3 มิสยูไนเต็ดคอนติเนนท์2017 พ่วงชุดประจำชาติ". khaosod. สืบค้นเมื่อ 9 พฤษจิกายน 2017. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]