ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กงส์ต็องส์แห่งอาร์ล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Darkydury (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{เก็บกวาด}}{{กล่องข้อมูล พระมหากษัตริย์|ชื่อ=กงสต็องแห่งอาร์ล|ภาพ=ภาพ:Robert2Franc Constance of Arles.jpg|คำบรรยาย=ภาพกงสต็องแห่งอาร์ลกำลังจำนนต่อพระเจ้าอ็องรีที่ 1 แห่งฝรั่งเศสผู้เป็นพระโอรส จากคริสต์ศตวรรษที่ 14|พระอิสริยยศ=พระราชินีคู่สมรสของชาวแฟรงก์|ครองราชย์=ค.ศ. 1001–1031|พระราชสมภพ=ค.ศ. 986|พระราชสมภพที่=อาร์ล ประเทศฝรั่งเศส|สิ้นพระชนม์=28 กรกฎาคม ค.ศ. 1032|สิ้นพระชนม์ที่=เมอเลิง ประเทศฝรั่งเศส|ฝังศพ=มหาวิหารแซ็งต์เดอนีส์ ปารีส ประเทศฝรั่งเศส|พระสวามี=[[พระเจ้ารอแบร์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศส]]|พระโอรส/ธิดา=อูกเลอกร็องด์<br>[[พระเจ้าอ็องรีที่ 1 แห่งฝรั่งเศส]]<br>[[อาแดลแห่งฝรั่งเศส]]<br>[[รอแบต์ที่ 1 ดยุคแห่งบูร์กอญ]]|ราชวงศ์=โบโซนิด|พระบิดา=[[กีโยมที่ 1 เคานต์แห่งพรอว็องส์]]|พระมารดา=[[อาเดอแลด-บล็องช์แห่งอ็องฌู]]|ภาพกว้าง=200px}}
{{กล่องข้อมูล พระมหากษัตริย์|ชื่อ=กงสต็องแห่งอาร์ล|ภาพ=ภาพ:Robert2Franc Constance of Arles.jpg|คำบรรยาย=ภาพกงสต็องแห่งอาร์ลกำลังจำนนต่อพระเจ้าอ็องรีที่ 1 แห่งฝรั่งเศสผู้เป็นพระโอรส จากคริสต์ศตวรรษที่ 14|พระอิสริยยศ=พระราชินีคู่สมรสของชาวแฟรงก์|ครองราชย์=ค.ศ. 1001–1031|พระราชสมภพ=ค.ศ. 986|พระราชสมภพที่=อาร์ล ประเทศฝรั่งเศส|สิ้นพระชนม์=28 กรกฎาคม ค.ศ. 1032|สิ้นพระชนม์ที่=เมอเลิง ประเทศฝรั่งเศส|ฝังศพ=มหาวิหารแซ็งต์เดอนีส์ ปารีส ประเทศฝรั่งเศส|พระสวามี=[[พระเจ้ารอแบร์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศส]]|พระโอรส/ธิดา=อูกเลอกร็องด์<br>[[พระเจ้าอ็องรีที่ 1 แห่งฝรั่งเศส]]<br>[[อาแดลแห่งฝรั่งเศส]]<br>[[รอแบต์ที่ 1 ดยุคแห่งบูร์กอญ]]|ราชวงศ์=โบโซนิด|พระบิดา=[[กีโยมที่ 1 เคานต์แห่งพรอว็องส์]]|พระมารดา=[[อาเดอแลด-บล็องช์แห่งอ็องฌู]]|ภาพกว้าง=200px}}


'''กงส์ต็องส์แห่งอาร์ล''' ({{Lang-fr|Constance d'Arles}}) หรือ '''กงส์ต็องส์แห่งพรอว็องส์''' ({{lang|fr|Constance de Provence}}) เป็นพระราชินีคู่สมรสแห่งฝรั่งเศสจากการเป็นพระมเหสีคนที่สามของ[[พระเจ้ารอแบร์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้ารอแบร์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศส]]
'''กงส์ต็องส์แห่งอาร์ล''' ({{Lang-fr|Constance d'Arles}}) หรือ '''กงส์ต็องส์แห่งพรอว็องส์''' ({{Lang-fr|Constance de Provence}}) เป็นธิดาของกีโยม เคานต์แห่งตูลูส (กีโยมที่ 1 เคานต์แห่งพรอว็องส์) ทรงเป็นพระมเหสีคนที่สามของ[[พระเจ้ารอแบร์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้ารอแบร์ที่ 2 ผู้ศรัทธาแห่งฝรั่งเศส]] และเป็นพระมารดาของ[[พระเจ้าอ็องรีที่ 1 แห่งฝรั่งเศส]], [[รอแบร์ที่ 1 ดยุคแห่งบูร์กอญ]] และ[[อาแดลแห่งฝรั่งเศส|อาแดล กาแป]] เคานเตสแห่งแฟลนเดอส์ (มารดาของ[[มาทิลดาแห่งแฟลนเดิร์ส|มาทิลดาแห่งแฟลนเดอส์]])

<br />


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
กงส์ต็องส์แห่งอาร์ลประสูติในปี ค.ศ. 986<ref>Detlev Schwennicke, ''Europäische Stammtafeln: Stammtafeln zur Geschichte der Europäischen Staaten'', Neue Folge, Band II (Marburg, Germany: J. A. Stargardt, 1984), Tafel 11</ref> กงส์ต็องส์เป็นบุตรสาวของกีโยมที่ 1 เคานต์แห่งพรอว็องส์กับอาเดลาอีด-บล็องช์แห่งอ็องฌู บุตรสาวของฟูลก์ที่ 2 แห่งอ็องฌู<ref name=":0">Detlev Schwennicke, ''Europäische Stammtafeln: Stammtafeln zur Geschichte der Europäischen Staaten'', Neue Folge, Band II (Marburg, Germany: J. A. Stargardt, 1984), Tafel 187</ref> พระองค์เป็นพี่น้องกับกีโยมที่ 2 แห่งพรอว็องส์<ref name=":0" />


=== วัยเยาว์ ===
กงส์ต็องส์แต่งงานกับ[[พระเจ้ารอแบร์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้ารอแบร์]]หลังพระองค์หย่าขาดจากพระมเหสีคนที่สอง [[แบร์ตแห่งบูร์กอญ พระราชินีแห่งฝรั่งเศส|แบร์ตแห่งบูร์กอญ]]<ref>Constance Bouchard, ''Those of My Blood: Creating Noble Families in Medieval Francia'' (Philadelphia: University of Pennsylvania Press, 2001), p. 47</ref> การแต่งงานเป็นการแต่งงานที่เต็มไปด้วยการทะเลาะเบาะแว้ง ครอบครัวของแบร์ตต่อต้านกงส์ต็องส์ และกงส์ต็องส์ถูกชิงชังจากการนำเครือญาติและธรรมเนียมปฏิบัติแบบพรอว็องส์เข้ามาในฝรั่งเศส อูกแห่งโบแว สหายของรอแบร์พยายามเกลี้ยกล่อมกษัตริย์ให้ทอดทิ้งกงส์ต็องส์ในปี ค.ศ. 1007 ต่อมาโบแวถูกฆาตกรรม อาจจะด้วยน้ำมือของกงส์ต็องส์ที่ขอให้อัศวิน 12 คนของญาติของพระองค์ ฟูลก์ แนรา ทำ<ref>Penelope Ann Adair, ''Constance of Arles: A study in Duty and Frustration','' Capetian Women'', ed. Kathleen Nolan (New York;, Palgrave Macmillan, 2003), p. 13''</ref>
กงส์ต็องส์แห่งอาร์ลประสูติในปี ค.ศ. 986<ref>Detlev Schwennicke, ''Europäische Stammtafeln: Stammtafeln zur Geschichte der Europäischen Staaten'', Neue Folge, Band II (Marburg, Germany: J. A. Stargardt, 1984), Tafel 11</ref> โดยทรงเป็นธิดาของกีโยมที่ 1 เคานต์แห่งพรอว็องส์กับภรรยาคนที่สอง อาเดลาอีด-บล็องช์แห่งอ็องฌูซึ่งเป็นธิดาของ[[ฟูลก์ที่ 2 เคานต์แห่งอ็องฌู]]<ref name=":0">Detlev Schwennicke, ''Europäische Stammtafeln: Stammtafeln zur Geschichte der Europäischen Staaten'', Neue Folge, Band II (Marburg, Germany: J. A. Stargardt, 1984), Tafel 187</ref> ทรงเป็นพี่น้องกับกีโยมที่ 2 เคานต์แห่งพรอว็องส์<ref name=":0" />


ในปี ค.ศ. 1010 รอแบร์ไปโรมโดยมีอดีตพระมเหสีแบร์ตเดินทางไปด้วย เพื่อขออนุญาตหย่าขาดกับกงส์ต็องส์และแต่งงานใหม่กับแบร์ต [[สมเด็จพระสันตะปาปาเซอร์จิอุสที่ 4|พระสันตะปาปาเซอร์จิอุสที่ 4]] ไม่อนุมัติการแต่งงานระหว่างผู้ร่วมสายโลหิตเดียวกันที่เคยถูกประณามจาก[[สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 5|พระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 5]] และรอแบร์ทิ้งพระมเหสีมาแล้วสองคน คำขอของพระองค์จึงถูกปฏิเสธ หลังกลับมาฝรั่งเศส แหล่งข้อมูลหนึ่งกล่าวว่ารอแบร์ "รักพระมเหสีของพระองค์มากขึ้น"<ref>Penelope Ann Adair, ''Constance of Arles: A study in Duty and Frustration','' Capetian Women'', ed. Kathleen Nolan (New York;, Palgrave Macmillan, 2003), pp. 13-14''</ref>


ตามธรรมเนียมปฏิบัติในยุคนั้น เด็กผู้หญิงจะถูกตั้งชื่อตามมารดา, ย่า หรือยายของของตน กงส์ต็องส์ถูกตั้งชื่อตามย่าของตน คือ กงส์ต็องส์ เคานเตสแห่งพรอว็องส์ ภรรยาของโบซงที่ 2 เคานต์แห่งพรอว็องส์<ref>Florian Mazel , " Proper names, name devolution and devolution of power in the Provençal aristocracy (middle <abbr>X e</abbr>-end <abbr>xii th</abbr>  century) ," ''historical Provence'' , <abbr>vol.</abbr>  53, <abbr>n o</abbr> 212,2003, <abbr>p.</abbr>  137, 139 and 144 </ref>
กงส์ต็องส์เร่งเร้าให้พระโอรสคนโตของพระองค์ อูกเลอกร็อง ได้รับการสวมมงกุฎเป็นกษัตริย์ร่วมเคียงข้างพระบิดาในปี ค.ศ. 1017<ref>Penelope Ann Adair, ''Constance of Arles: A study in Duty and Frustration','' Capetian Women'', ed. Kathleen Nolan (New York;, Palgrave Macmillan, 2003), p. 16''</ref> แต่ต่อมาอูกเรียกร้องให้บิดามารดาแบ่งปันอำนาจให้พระองค์และก่อกบฏต่อพระบิดาในปี ค.ศ. 1025 กงส์ต็องส์โกรธจัดเมื่อรู้ว่าพระโอรสก่อกบฏ พระองค์ดุด่าต่อว่าอูก ต่อมาอูกคืนดีกับบิดามารดาแต่หลังจากนั้นไม่นานพระองค์ก็สิ้นพระชนม์ อาจจะตอนพระชนมายุ 18 พรรษา สองสามีภรรยาเสียใจอย่างหนัก พระราชินีโศกเศร้ารุนแรงจนผู้คนเป็นห่วงสภาพจิตใจของพระองค์<ref>Penelope Ann Adair, ''Constance of Arles: A study in Duty and Frustration','' Capetian Women'', ed. Kathleen Nolan (New York;, Palgrave Macmillan, 2003), p. 18''</ref>
<br />


=== การสมรส ===
รอแบร์กับกงส์ต็องส์ทะเลาะกันว่าจะให้พระโอรสที่ยังมีชีวิตอยู่คนไหนได้สืบทอดบัลลังก์ รอแบร์อยากให้เป็นพระโอรสคนที่สอง [[พระเจ้าอ็องรีที่ 1 แห่งฝรั่งเศส|อ็องรี]] ขณะที่กงส์ต็องส์ต้องการให้เป็นพระโอรสคนที่สาม รอแบร์<ref>Penelope Ann Adair, ''Constance of Arles: A study in Duty and Frustration','' Capetian Women'', ed. Kathleen Nolan (New York;, Palgrave Macmillan, 2003), p. 18''</ref> แม้จะถูกคัดค้านจากพระมารดาและบิชอปหลายคนที่สนับสนุนพระมารดา แต่อ็องรีก็ได้รับการสวมมงกุฎในปี ค.ศ. 1027
ในปี ค.ศ. 998 [[สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 5]] ได้ตัด[[พระเจ้ารอแบร์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้ารอแบร์ที่ 2 ผู้ศรัทธาแห่งฝรั่งเศส]]ออกจากศาสนาและได้ประกาศให้การสมรสครั้งที่สองของพระองค์กับ[[แบร์ตแห่งบูร์กอญ]] พระมเหสีคนที่สองเป็นโมฆะเนื่องจากเป็นญาติที่มีสายเลือดใกล้ชิดกันเกินไป อีกทั้งแบร์ตยังไม่มีพระโอรสธิดาให้พระองค์แม้ว่าจะอยู่กินกันมาตั้งแต่เมื่อครั้งที่พระองค์ได้ทิ้ง[[โรซาลาแห่งอิตาลี]] พระมเหสีคนแรกในปี ค.ศ. 911 ต่อมาพระเจ้ารอแบร์ได้รับกงส์ต็องส์มาเป็นพระมเหสีคนที่สาม


[[ไฟล์:Robert Konstancie.jpg|thumb|หลุมฝังศพของรอแบร์ผู้ศรัทธากับกงส์ต็องส์แห่งอาร์ลที่แซ็ง-เดอนี]]
กงส์ต็องส์สนับสนุนพระโอรสทั้งสองให้ก่อกบฏ และทั้งคู่เริ่มโจมตีและปล้นเมืองกับปราสาทที่เป็นของพระบิดา รอแบร์ผู้ลูกโจมตีบูร์กอญ ดัชชีที่พระบิดาเคยสัญญาว่าจะยกให้พระองค์แต่พระองค์ไม่เคยได้รับ ส่วนอ็องรีปิดล้อมเดรอ สุดท้ายพระเจ้ารอแบร์ก็ยอมรับข้อเสนอของทั้งคู่และทำข้อตกลงสันติภาพที่จะคงอยู่ไปจนกษัตริย์สิ้นพระชนม์


การสมรสของกงส์ต็องส์กับพระเจ้ารอแบร์ที่ 2 ผู้ศรัทธาเกิดขึ้นราวปี ค.ศ. 1003<ref>Jiří Louda and Michael MacLagan, ''Dynasties of Europe'' - Table 64, Bordas, 1995.</ref> ทั้งคู่ก็มีพระโอรสธิดาด้วยกันอย่างน้อย 4 คน คือ
พระเจ้ารอแบร์สิ้นพระชนม์ในวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1031<ref>Detlev Schwennicke, ''Europäische Stammtafeln: Stammtafeln zur Geschichte der Europäischen Staaten'', Neue Folge, Band I (Marburg, Germany: J. A. Stargardt, 1980), Tafel 57</ref> หลังจากนั้นไม่นานกงส์ต็องส์ก็ล้มป่วย พระองค์ยังหมางใจกับพระโอรสที่ยังมีชีวิตอยู่ทั้งสอง กงส์ต็องส์ยึดดินแดนอันเป็นสินสอดของพระองค์และปฏิเสธที่จะยอมจำนนต่อทั้งคู่ อ็องรีหนีไปนอร์ม็องดีที่พระองค์ได้รับการช่วยเหลือ อาวุธ และทหารจากพระอนุชา รอแบร์ พระองค์กลับมาปิดล้อมพระมารดาที่ปัวส์ซี แต่กงสต็องหนีไปปงตวซ พระองค์ยอมจำนนเมื่ออ็องรีเริ่มยึดเลอปุยแซและสาบานว่าจะสังหารชาวเมืองทุกคน


# อูก (ประสูติ ค.ศ. 1007) ได้ครองบัลลังก์ร่วมกับพระบิดาแต่สิ้นพระชนม์ก่อนพระบิดา
กงส์ต็องส์สิ้นพระชนม์หลังจากไอจนหมดสติในวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1032<ref name=":0" /> และถูกฝังเคียงข้างพระสวามี รอแบร์ ที่มหาวิหารแซ็ง-เดอนี<ref>Georgia Sommers Wright, 'A Royal Tomb Program in the Reign of St. Louis', ''The Art Bulletin'', Vol. 56, No. 2 (Jun., 1974), p. 225</ref>
# [[พระเจ้าอ็องรีที่ 1 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้าอ็องรีที่ 1]] (ประสูติ ค.ศ. 1008)
# [[อาแดลแห่งฝรั่งเศส|อาแดล]] เคานเตสแห่งโกร์บี (ประสูติ ค.ศ. 1009) สมรสครั้งแรกกับ[[รีชาร์ที่ 3 ดยุกแห่งนอร์ม็องดี|รีชาร์ที่ 3 ดยุคแห่งนอร์ม็องดี]] ต่อมาสมรครั้งที่สองกับ[[บาลด์วินที่ 5 เคานต์แห่งฟลานเดอส์|เบาด์วินที่ 5 เคานต์แห่งแฟลนเดอส์]]
# [[รอแบร์ที่ 1 ดยุคแห่งบูร์กอญ|รอแบร์แห่งฝรั่งเศส ดยุคแห่งบูร์กอญ]] (ประสูติ ค.ศ. 1011)


ชีวิตสมรสของกงส์ต็องส์กับพระเจ้ารอแบร์เต็มไปด้วยการทะเลาะเบาะแว้ง ครอบครัวของแบร์ตต่อต้านกงส์ต็องส์ และกงส์ต็องส์ถูกชิงชังจากการนำเครือญาติและธรรมเนียมปฏิบัติแบบพรอว็องส์มาใช้ในฝรั่งเศส ในปี ค.ศ. 1007 อูกแห่งโบแว สหายของพระเจ้ารอแบร์พยายามเกลี้ยกล่อมให้พระองค์ทิ้งกงส์ต็องส์แต่ต่อมาโบแวถูกฆาตกรรม อาจจะโดยกงส์ต็องส์ที่ร้องขอให้อัศวิน 12 คนของฟูลก์ แนรา ญาติของพระองค์ทำการฆาตกรรม<ref>Penelope Ann Adair, ''Constance of Arles: A study in Duty and Frustration','' Capetian Women'', ed. Kathleen Nolan (New York;, Palgrave Macmillan, 2003), p. 13''</ref>
<br />

=== พระราชินีแห่งฝรั่งเศส ===
[[ไฟล์:Constance d'Arles.jpg|left|thumb|ภาพวาดของกงส์ต็องส์แห่งอาร์ลที่แสดงให้เห็นถึงอุนิสัยแข็งกร้าว คริสตศตวรรษที่ 11]]
ความมากเล่ห์และความโหดเหี้ยมของกงสต็องส์ทำให้พระองค์ไม่เป็นที่รักของราชสำนัก พระเจ้ารอแบร์เองได้พยายามหลายครั้งเพื่อจะทิ้งพระองค์และรับแบร์ตกลับมาเป็นพระมเหสี ในปี ค.ศ. 1010 กษัตริย์ได้เดินทางไป[[โรม]]พร้อมกับแบร์ต อดีตพระมเหสีเพื่อขอหย่ากับกงส์ต็องส์และกลับมาสมรสกับแบร์ตอีกครั้ง ทว่า[[สมเด็จพระสันตะปาปาเซอร์จิอุสที่ 4]] ไม่เห็นชอบกับการสมรสระหว่างผู้ร่วมสายโลหิตเดียวกันที่เคยถูกประณามจากสมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 5 อีกทั้งพระเจ้ารอแบร์เคยทิ้งพระมเหสีมาแล้วถึงสองครั้ง คำขอของพระองค์จึงถูกปฏิเสธ หลังเดินทางกลับมาฝรั่งเศส แหล่งข้อมูลหนึ่งกล่าวว่าพระเจ้ารอแบร์ "รักพระมเหสีของพระองค์มากขึ้น"<ref>Penelope Ann Adair, ''Constance of Arles: A study in Duty and Frustration','' Capetian Women'', ed. Kathleen Nolan (New York;, Palgrave Macmillan, 2003), pp. 13-14''</ref> ขณะที่ราชสำนักได้แตกออกเป็นสองฝั่งคือฝั่งของกงส์ต็องส์กับฝั่งของแบร์ต

กงส์ต็องส์เร่งเร้าให้ทำการสวมมงกุฎให้อูกเลอกร็อง พระโอรสคนโตที่สุดท้ายได้รับการสวมมงกุฎเป็นกษัตริย์ร่วมกับพระบิดาในปี ค.ศ. 1017<ref>Penelope Ann Adair, ''Constance of Arles: A study in Duty and Frustration','' Capetian Women'', ed. Kathleen Nolan (New York;, Palgrave Macmillan, 2003), p. 16''</ref> แต่ภายหลังอูกได้เรียกร้องขอแบ่งปันอำนาจจากพระบิดามารดาและก่อกบฏต่อพระบิดาในปี ค.ศ. 1025 ทำให้กงส์ต็องส์โกรธจัดและดุด่าต่อว่าพระโอรส ภายหลังอูกได้คืนดีกับพระบิดามารดาแต่หลังจากนั้นไม่นานพระองค์ได้สิ้นพระชนม์ด้วยวัย 18 พรรษา การสูญเสียสร้างความเสียใจแก่สองสามีภรรยาเป็นอย่างมาก พระราชินีโศกเศร้ารุนแรงจนคนรอบข้างเป็นห่วงสภาพจิตใจของพระองค์<ref>Penelope Ann Adair, ''Constance of Arles: A study in Duty and Frustration','' Capetian Women'', ed. Kathleen Nolan (New York;, Palgrave Macmillan, 2003), p. 18''</ref>

พระเจ้ารอแบร์กับกงสต็องเหลือพระโอรสที่ยังมีชีวิตอยู่อีกสองคน คือ อ็องรีกับรอแบต์ ซึ่งกงสต็องส์โปรดปรานคนหลังมากกว่าและต้องการให้ได้ครองราชย์เป็นกษัตริย์ต่อจากพระบิดา<ref>Penelope Ann Adair, ''Constance of Arles: A study in Duty and Frustration','' Capetian Women'', ed. Kathleen Nolan (New York;, Palgrave Macmillan, 2003), p. 18''</ref> ทว่าพระสวามีของพระองค์กลับเลือกอ็องรีเป็นผู้สืบทอดตำแหน่งต่อจากตน แม้จะถูกคัดค้านจากพระมารดาและบิชอปฝ่ายที่สนับสนุนพระมารดา แต่อ็องรีได้รับการสนับสนุนจากดยุคแห่งนอร์ม็องดี, เคานต์แห่งอ็องฌู และเคานต์แห่งแฟลนเดอส์ พระองค์ก็ได้รับการสวมมงกุฎเป็นกษัตริย์ร่วมในปี ค.ศ. 1027

[[ไฟล์:Robert Konstancie.jpg|thumb|หลุมฝังศพของรอแบร์ผู้ศรัทธากับกงส์ต็องส์แห่งอาร์ลที่แซ็ง-เดอนี|alt=]]
ต่อมาพระโอรสทั้งสองของพระเจ้ารอแบร์ได้ก่อกบฏโดยมีกงส์ต็องส์ให้การสนับสนุน ทั้งคู่ได้โจมตีและปล้นเมืองกับปราสาทที่เป็นของพระบิดา รอแบร์ผู้ลูกโจมตีบูร์กอญ ดัชชีที่พระบิดาเคยสัญญาว่าจะยกให้พระองค์แต่กลับไม่ยอมยกให้เสียที ส่วนอ็องรีได้ทำการปิดล้อมเดรอ สุดท้ายพระเจ้ารอแบร์ยอมรับข้อเสนอของพระโอรสทั้งสองและได้ทำข้อตกลงสันติภาพซึ่งคงอยู่ไปจนกษัตริย์สิ้นพระชนม์

พระเจ้ารอแบร์สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1031<ref>Detlev Schwennicke, ''Europäische Stammtafeln: Stammtafeln zur Geschichte der Europäischen Staaten'', Neue Folge, Band I (Marburg, Germany: J. A. Stargardt, 1980), Tafel 57</ref> กงส์ต็องส์พยายามจะสังหารอ็องรีแต่ทำไม่สำเร็จ อ็องรีได้ขึ้นครองบัลลังก์ ทรงคืนดีกับรอแบร์ พระอนุชาและยกดัชชีบูร์กอญให้ หลังจากนั้นไม่นานกงส์ต็องส์ก็ล้มป่วย ทรงบาดหมางใจกับพระโอรสที่ยังมีชีวิตอยู่ทั้งสอง พระองค์ได้ยึดดินแดนที่เป็นสินเดิมติดตัวของตนคืนมาและไม่ยอมจำนนต่อพระโอรสทั้งสองจนพระเจ้าอ็องรีต้องหนีไป[[ดัชชีนอร์ม็องดี|นอร์ม็องดี]] ที่นั่นรอแบร์ พระอนุชาของของพระเจ้าอ็องรีได้ให้ความช่วยเหลือพระองค์ในด้านอาวุธและกำลังทหาร กษัตริย์กลับมาทำการปิดล้อมพระมารดาที่ปัวส์ซีแต่พระนางได้หนีไปปงตวซ พระเจ้าอ็องรีได้ยึดเลอปุยแซและประกาศว่าจะสังหารชาวเมืองทุกคน กงส์ต็องจึงต้องยอมจำนนในท้ายที่สุด

<br />

=== การสิ้นพระชนม์ ===
กงส์ต็องส์สิ้นพระชนม์หลังจากไอจนหมดสติเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1032<ref name=":0" /> ร่างของพระองค์ถูกฝังเคียงข้างพระเจ้ารอแบร์ผู้เป็นพระสวามีใน[[มหาวิหารแซ็ง-เดอนี|มหาวิหารแซ็งต์-เดอนี]]<ref>Georgia Sommers Wright, 'A Royal Tomb Program in the Reign of St. Louis', ''The Art Bulletin'', Vol. 56, No. 2 (Jun., 1974), p. 225</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

* [https://www.encyclopedia.com/women/encyclopedias-almanacs-transcripts-and-maps/constance-arles-c-980-1032 Constance Of Arles (C. 980–1032): Encyclopedia.com]
<references />
<references />


บรรทัด 31: บรรทัด 59:
[[หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ศตวรรษที่ 10]]
[[หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ศตวรรษที่ 10]]
[[หมวดหมู่:ราชินีแห่งฝรั่งเศส]]
[[หมวดหมู่:ราชินีแห่งฝรั่งเศส]]
[[หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1529]]
[[หมวดหมู่:บุคคลที่เสียชีวิตในปี ค.ศ. 1575]]
[[หมวดหมู่:ดัชเชสแห่งบูร์กอญ]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์กาแป]]
[[หมวดหมู่:ชาวฝรั่งเศส]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:24, 30 มีนาคม 2562

กงสต็องแห่งอาร์ล
ภาพกงสต็องแห่งอาร์ลกำลังจำนนต่อพระเจ้าอ็องรีที่ 1 แห่งฝรั่งเศสผู้เป็นพระโอรส จากคริสต์ศตวรรษที่ 14
พระราชินีคู่สมรสของชาวแฟรงก์
ครองราชย์ค.ศ. 1001–1031
ประสูติค.ศ. 986
อาร์ล ประเทศฝรั่งเศส
สิ้นพระชนม์28 กรกฎาคม ค.ศ. 1032
ฝังพระศพมหาวิหารแซ็งต์เดอนีส์ ปารีส ประเทศฝรั่งเศส
พระสวามีพระเจ้ารอแบร์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศส
พระบุตรอูกเลอกร็องด์
พระเจ้าอ็องรีที่ 1 แห่งฝรั่งเศส
อาแดลแห่งฝรั่งเศส
รอแบต์ที่ 1 ดยุคแห่งบูร์กอญ
ราชวงศ์โบโซนิด
พระบิดากีโยมที่ 1 เคานต์แห่งพรอว็องส์
พระมารดาอาเดอแลด-บล็องช์แห่งอ็องฌู

กงส์ต็องส์แห่งอาร์ล (ฝรั่งเศส: Constance d'Arles) หรือ กงส์ต็องส์แห่งพรอว็องส์ (ฝรั่งเศส: Constance de Provence) เป็นธิดาของกีโยม เคานต์แห่งตูลูส (กีโยมที่ 1 เคานต์แห่งพรอว็องส์) ทรงเป็นพระมเหสีคนที่สามของพระเจ้ารอแบร์ที่ 2 ผู้ศรัทธาแห่งฝรั่งเศส และเป็นพระมารดาของพระเจ้าอ็องรีที่ 1 แห่งฝรั่งเศส, รอแบร์ที่ 1 ดยุคแห่งบูร์กอญ และอาแดล กาแป เคานเตสแห่งแฟลนเดอส์ (มารดาของมาทิลดาแห่งแฟลนเดอส์)


ประวัติ

วัยเยาว์

กงส์ต็องส์แห่งอาร์ลประสูติในปี ค.ศ. 986[1] โดยทรงเป็นธิดาของกีโยมที่ 1 เคานต์แห่งพรอว็องส์กับภรรยาคนที่สอง อาเดลาอีด-บล็องช์แห่งอ็องฌูซึ่งเป็นธิดาของฟูลก์ที่ 2 เคานต์แห่งอ็องฌู[2] ทรงเป็นพี่น้องกับกีโยมที่ 2 เคานต์แห่งพรอว็องส์[2]


ตามธรรมเนียมปฏิบัติในยุคนั้น เด็กผู้หญิงจะถูกตั้งชื่อตามมารดา, ย่า หรือยายของของตน กงส์ต็องส์ถูกตั้งชื่อตามย่าของตน คือ กงส์ต็องส์ เคานเตสแห่งพรอว็องส์ ภรรยาของโบซงที่ 2 เคานต์แห่งพรอว็องส์[3]

การสมรส

ในปี ค.ศ. 998 สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 5 ได้ตัดพระเจ้ารอแบร์ที่ 2 ผู้ศรัทธาแห่งฝรั่งเศสออกจากศาสนาและได้ประกาศให้การสมรสครั้งที่สองของพระองค์กับแบร์ตแห่งบูร์กอญ พระมเหสีคนที่สองเป็นโมฆะเนื่องจากเป็นญาติที่มีสายเลือดใกล้ชิดกันเกินไป อีกทั้งแบร์ตยังไม่มีพระโอรสธิดาให้พระองค์แม้ว่าจะอยู่กินกันมาตั้งแต่เมื่อครั้งที่พระองค์ได้ทิ้งโรซาลาแห่งอิตาลี พระมเหสีคนแรกในปี ค.ศ. 911 ต่อมาพระเจ้ารอแบร์ได้รับกงส์ต็องส์มาเป็นพระมเหสีคนที่สาม


การสมรสของกงส์ต็องส์กับพระเจ้ารอแบร์ที่ 2 ผู้ศรัทธาเกิดขึ้นราวปี ค.ศ. 1003[4] ทั้งคู่ก็มีพระโอรสธิดาด้วยกันอย่างน้อย 4 คน คือ

  1. อูก (ประสูติ ค.ศ. 1007) ได้ครองบัลลังก์ร่วมกับพระบิดาแต่สิ้นพระชนม์ก่อนพระบิดา
  2. พระเจ้าอ็องรีที่ 1 (ประสูติ ค.ศ. 1008)
  3. อาแดล เคานเตสแห่งโกร์บี (ประสูติ ค.ศ. 1009) สมรสครั้งแรกกับรีชาร์ที่ 3 ดยุคแห่งนอร์ม็องดี ต่อมาสมรครั้งที่สองกับเบาด์วินที่ 5 เคานต์แห่งแฟลนเดอส์
  4. รอแบร์แห่งฝรั่งเศส ดยุคแห่งบูร์กอญ (ประสูติ ค.ศ. 1011)


ชีวิตสมรสของกงส์ต็องส์กับพระเจ้ารอแบร์เต็มไปด้วยการทะเลาะเบาะแว้ง ครอบครัวของแบร์ตต่อต้านกงส์ต็องส์ และกงส์ต็องส์ถูกชิงชังจากการนำเครือญาติและธรรมเนียมปฏิบัติแบบพรอว็องส์มาใช้ในฝรั่งเศส ในปี ค.ศ. 1007 อูกแห่งโบแว สหายของพระเจ้ารอแบร์พยายามเกลี้ยกล่อมให้พระองค์ทิ้งกงส์ต็องส์แต่ต่อมาโบแวถูกฆาตกรรม อาจจะโดยกงส์ต็องส์ที่ร้องขอให้อัศวิน 12 คนของฟูลก์ แนรา ญาติของพระองค์ทำการฆาตกรรม[5]

พระราชินีแห่งฝรั่งเศส

ภาพวาดของกงส์ต็องส์แห่งอาร์ลที่แสดงให้เห็นถึงอุนิสัยแข็งกร้าว คริสตศตวรรษที่ 11

ความมากเล่ห์และความโหดเหี้ยมของกงสต็องส์ทำให้พระองค์ไม่เป็นที่รักของราชสำนัก พระเจ้ารอแบร์เองได้พยายามหลายครั้งเพื่อจะทิ้งพระองค์และรับแบร์ตกลับมาเป็นพระมเหสี ในปี ค.ศ. 1010 กษัตริย์ได้เดินทางไปโรมพร้อมกับแบร์ต อดีตพระมเหสีเพื่อขอหย่ากับกงส์ต็องส์และกลับมาสมรสกับแบร์ตอีกครั้ง ทว่าสมเด็จพระสันตะปาปาเซอร์จิอุสที่ 4 ไม่เห็นชอบกับการสมรสระหว่างผู้ร่วมสายโลหิตเดียวกันที่เคยถูกประณามจากสมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 5 อีกทั้งพระเจ้ารอแบร์เคยทิ้งพระมเหสีมาแล้วถึงสองครั้ง คำขอของพระองค์จึงถูกปฏิเสธ หลังเดินทางกลับมาฝรั่งเศส แหล่งข้อมูลหนึ่งกล่าวว่าพระเจ้ารอแบร์ "รักพระมเหสีของพระองค์มากขึ้น"[6] ขณะที่ราชสำนักได้แตกออกเป็นสองฝั่งคือฝั่งของกงส์ต็องส์กับฝั่งของแบร์ต

กงส์ต็องส์เร่งเร้าให้ทำการสวมมงกุฎให้อูกเลอกร็อง พระโอรสคนโตที่สุดท้ายได้รับการสวมมงกุฎเป็นกษัตริย์ร่วมกับพระบิดาในปี ค.ศ. 1017[7] แต่ภายหลังอูกได้เรียกร้องขอแบ่งปันอำนาจจากพระบิดามารดาและก่อกบฏต่อพระบิดาในปี ค.ศ. 1025 ทำให้กงส์ต็องส์โกรธจัดและดุด่าต่อว่าพระโอรส ภายหลังอูกได้คืนดีกับพระบิดามารดาแต่หลังจากนั้นไม่นานพระองค์ได้สิ้นพระชนม์ด้วยวัย 18 พรรษา การสูญเสียสร้างความเสียใจแก่สองสามีภรรยาเป็นอย่างมาก พระราชินีโศกเศร้ารุนแรงจนคนรอบข้างเป็นห่วงสภาพจิตใจของพระองค์[8]

พระเจ้ารอแบร์กับกงสต็องเหลือพระโอรสที่ยังมีชีวิตอยู่อีกสองคน คือ อ็องรีกับรอแบต์ ซึ่งกงสต็องส์โปรดปรานคนหลังมากกว่าและต้องการให้ได้ครองราชย์เป็นกษัตริย์ต่อจากพระบิดา[9] ทว่าพระสวามีของพระองค์กลับเลือกอ็องรีเป็นผู้สืบทอดตำแหน่งต่อจากตน แม้จะถูกคัดค้านจากพระมารดาและบิชอปฝ่ายที่สนับสนุนพระมารดา แต่อ็องรีได้รับการสนับสนุนจากดยุคแห่งนอร์ม็องดี, เคานต์แห่งอ็องฌู และเคานต์แห่งแฟลนเดอส์ พระองค์ก็ได้รับการสวมมงกุฎเป็นกษัตริย์ร่วมในปี ค.ศ. 1027

หลุมฝังศพของรอแบร์ผู้ศรัทธากับกงส์ต็องส์แห่งอาร์ลที่แซ็ง-เดอนี

ต่อมาพระโอรสทั้งสองของพระเจ้ารอแบร์ได้ก่อกบฏโดยมีกงส์ต็องส์ให้การสนับสนุน ทั้งคู่ได้โจมตีและปล้นเมืองกับปราสาทที่เป็นของพระบิดา รอแบร์ผู้ลูกโจมตีบูร์กอญ ดัชชีที่พระบิดาเคยสัญญาว่าจะยกให้พระองค์แต่กลับไม่ยอมยกให้เสียที ส่วนอ็องรีได้ทำการปิดล้อมเดรอ สุดท้ายพระเจ้ารอแบร์ยอมรับข้อเสนอของพระโอรสทั้งสองและได้ทำข้อตกลงสันติภาพซึ่งคงอยู่ไปจนกษัตริย์สิ้นพระชนม์

พระเจ้ารอแบร์สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1031[10] กงส์ต็องส์พยายามจะสังหารอ็องรีแต่ทำไม่สำเร็จ อ็องรีได้ขึ้นครองบัลลังก์ ทรงคืนดีกับรอแบร์ พระอนุชาและยกดัชชีบูร์กอญให้ หลังจากนั้นไม่นานกงส์ต็องส์ก็ล้มป่วย ทรงบาดหมางใจกับพระโอรสที่ยังมีชีวิตอยู่ทั้งสอง พระองค์ได้ยึดดินแดนที่เป็นสินเดิมติดตัวของตนคืนมาและไม่ยอมจำนนต่อพระโอรสทั้งสองจนพระเจ้าอ็องรีต้องหนีไปนอร์ม็องดี ที่นั่นรอแบร์ พระอนุชาของของพระเจ้าอ็องรีได้ให้ความช่วยเหลือพระองค์ในด้านอาวุธและกำลังทหาร กษัตริย์กลับมาทำการปิดล้อมพระมารดาที่ปัวส์ซีแต่พระนางได้หนีไปปงตวซ พระเจ้าอ็องรีได้ยึดเลอปุยแซและประกาศว่าจะสังหารชาวเมืองทุกคน กงส์ต็องจึงต้องยอมจำนนในท้ายที่สุด


การสิ้นพระชนม์

กงส์ต็องส์สิ้นพระชนม์หลังจากไอจนหมดสติเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1032[2] ร่างของพระองค์ถูกฝังเคียงข้างพระเจ้ารอแบร์ผู้เป็นพระสวามีในมหาวิหารแซ็งต์-เดอนี[11]

อ้างอิง

  1. Detlev Schwennicke, Europäische Stammtafeln: Stammtafeln zur Geschichte der Europäischen Staaten, Neue Folge, Band II (Marburg, Germany: J. A. Stargardt, 1984), Tafel 11
  2. 2.0 2.1 2.2 Detlev Schwennicke, Europäische Stammtafeln: Stammtafeln zur Geschichte der Europäischen Staaten, Neue Folge, Band II (Marburg, Germany: J. A. Stargardt, 1984), Tafel 187
  3. Florian Mazel , " Proper names, name devolution and devolution of power in the Provençal aristocracy (middle X e-end xii th  century) ," historical Provence , vol.  53, n o 212,2003, p.  137, 139 and 144
  4. Jiří Louda and Michael MacLagan, Dynasties of Europe - Table 64, Bordas, 1995.
  5. Penelope Ann Adair, Constance of Arles: A study in Duty and Frustration', Capetian Women, ed. Kathleen Nolan (New York;, Palgrave Macmillan, 2003), p. 13
  6. Penelope Ann Adair, Constance of Arles: A study in Duty and Frustration', Capetian Women, ed. Kathleen Nolan (New York;, Palgrave Macmillan, 2003), pp. 13-14
  7. Penelope Ann Adair, Constance of Arles: A study in Duty and Frustration', Capetian Women, ed. Kathleen Nolan (New York;, Palgrave Macmillan, 2003), p. 16
  8. Penelope Ann Adair, Constance of Arles: A study in Duty and Frustration', Capetian Women, ed. Kathleen Nolan (New York;, Palgrave Macmillan, 2003), p. 18
  9. Penelope Ann Adair, Constance of Arles: A study in Duty and Frustration', Capetian Women, ed. Kathleen Nolan (New York;, Palgrave Macmillan, 2003), p. 18
  10. Detlev Schwennicke, Europäische Stammtafeln: Stammtafeln zur Geschichte der Europäischen Staaten, Neue Folge, Band I (Marburg, Germany: J. A. Stargardt, 1980), Tafel 57
  11. Georgia Sommers Wright, 'A Royal Tomb Program in the Reign of St. Louis', The Art Bulletin, Vol. 56, No. 2 (Jun., 1974), p. 225