ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุดมศึกษา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 6808347 สร้างโดย 101.108.124.236 (พูดคุย)
Peerayut 2553 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4: บรรทัด 4:


การจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาใน[[ประเทศไทย]]นั้น เริ่มขึ้นตั้งแต่รัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ซึ่งได้ก่อตั้งโรงเรียนกฎหมาย โรงเรียนแพทย์ โรงเรียนช่างไหม รวมถึงโรงเรียนมหาดเล็ก แต่ยังไม่สามารถให้การศึกษาถึงขั้นปริญญาได้ ในรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ได้ทรงประดิษฐานโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็น[[มหาวิทยาลัย]] และพระราชทานนามว่า "[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]" ซึ่งเป็นสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ในปัจจุบัน การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาของประเทศไทยอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของ[[สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา]] หรือ สกอ. [[กระทรวงศึกษาธิการ]] ซึ่งมีสถาบันอุดมศึกษาในสังกัด 157 แห่งทั่วประเทศ ([[พ.ศ. 2553]])<ref>[http://www.mua.go.th/data_main/university_1.xls รายชื่อสถาบันต่างๆ ที่อยู่สังกัด สกอ.]</ref> โดยแบ่งเป็น
การจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาใน[[ประเทศไทย]]นั้น เริ่มขึ้นตั้งแต่รัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ซึ่งได้ก่อตั้งโรงเรียนกฎหมาย โรงเรียนแพทย์ โรงเรียนช่างไหม รวมถึงโรงเรียนมหาดเล็ก แต่ยังไม่สามารถให้การศึกษาถึงขั้นปริญญาได้ ในรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ได้ทรงประดิษฐานโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็น[[มหาวิทยาลัย]] และพระราชทานนามว่า "[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]" ซึ่งเป็นสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ในปัจจุบัน การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาของประเทศไทยอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของ[[สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา]] หรือ สกอ. [[กระทรวงศึกษาธิการ]] ซึ่งมีสถาบันอุดมศึกษาในสังกัด 157 แห่งทั่วประเทศ ([[พ.ศ. 2553]])<ref>[http://www.mua.go.th/data_main/university_1.xls รายชื่อสถาบันต่างๆ ที่อยู่สังกัด สกอ.]</ref> โดยแบ่งเป็น
* [[สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ]] 78 แห่ง
* [[สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ]]
** กลุ่มมหาวิทยาลัย 8 แห่ง
* [[สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาล]] 14 แห่ง
** กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ 38 แห่ง
* [[สถาบันอุดมศึกษาเอกชน]] 69 แห่ง
** กลุ่มมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 9 แห่ง
* [[วิทยาลัยชุมชน]] 19 แห่ง
** กลุ่มสถาบัน 7 แห่ง (รวม[[สถาบันวิทยาลัยชุมชน]]แล้ว)
* [[สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาล]]
** กลุ่มในกำกับสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 25 แห่ง (รวมราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์แล้ว)
** กลุ่มในกำกับกรุงเทพมหานคร 1 แห่ง
** กลุ่มในกำกับสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 23 แห่ง
* [[สถาบันอุดมศึกษาเอกชน]] 74 แห่ง


นอกจากนี้ ยังมีการจัดการศึกษาโดย [[มหาวิทยาลัย]] [[วิทยาลัย]] หรือ [[บัณฑิตวิทยาลัย]] ที่อาจจะไม่ได้อยู่ในสังกัดของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เช่น [[วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก]] ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของ [[กระทรวงกลาโหม]] นอกจากนี้[[โรงเรียนสาธิต]]ก็ยังสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาอีกด้วย
นอกจากนี้ ยังมีการจัดการศึกษาโดย [[มหาวิทยาลัย]] [[วิทยาลัย]] หรือ [[บัณฑิตวิทยาลัย]] ที่อาจจะไม่ได้อยู่ในสังกัดของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เช่น [[วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก]] ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของ [[กระทรวงกลาโหม]] นอกจากนี้[[โรงเรียนสาธิต]]ก็ยังสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาอีกด้วย

== รูปแบบสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ==
รูปแบบสถาบันอุดมศึกษาของไทยนั้น มีหลากหลายชื่อเรียกขาน แต่หากเปรียบเทียบแล้วมีฐานะเดียวกันหากแตกต่างเฉพาะชื่อเรียกและตำแหน่งบริหารเท่านั้น อธิบายได้ดังนี้

==== เที่ยบเท่ามหาวิทยาลัย ====
{| class="wikitable"
!หน่วยงาน
!ตำแหน่งหัวหน้าบริหาร
!ตำแหน่งหัวหน้าวิชาการ
!หมายเหตุ
|-
|มหาวิทยาลัย
|อธิการบดี
|นายกสภามหาวิทยาลัย
|มหาวิทยาลัย ส่วนใหญ่เปิดส่วนในหลักสูตรระดับ[[ปริญญาตรี]] โท เอก
|-
|สถาบัน
|อธิการบดี/ผู้อำนวยการสถาบัน
|นายกสภาสถาบัน
|สถาบันมีฐานะเที่ยบกับมหาวิทยาลัย โดยมีศักดิ์ละสิทธิให้ปริญญาบัตรตามกฎหมายเช่นกัน สถานศึกษาที่ใช้ชื่อ "สถาบัน" เช่น [[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]], [[สถาบันการอาชีวศึกษา]] 23 แห่ง
|-
|วิทยาลัย
|อธิการบดี/ผู้อำนวยการวิทยาลัย
|นายกสภาวิทยาลัย
|วิทยลัย มีฐานะเที่ยบกับคำว่า สถาบัน, มหาวิทยาลัย โดยมีศักดิ์ละสิทธิให้ปริญญาบัตรตามกฎหมายเช่นกัน สถานศึกษาที่ใช้ชื่อ "วิทยาลัย" เช่น [[วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก]], [[วิทยาลัยดุสิตธานี]] เป็นต้น โดยวิทยาลัยเหล่านี้มีความเป็นเอกเทศ (ระวังสับสนกับ วิทยาลัยที่มีฐานะเป็นหน่วยงานของสถาบันอุดมศึกษาหรือเรียกว่าเทียบเท่า คณะวิชาหนี่ง)
|}

==== เทียบเท่าคณะ ====
{| class="wikitable"
!หน่วยงาน
!ตำแหน่งหัวหน้าบริหาร
!หมายเหตุ
|-
|คณะ
|คณบดี
|คณะวิชา หมายถึง กลุ่มวิชาที่จัดไว้เป็นหมวดหมู่ในสถานศึกษา เพื่อการจัดการเรียนการสอนในลักษณะเดียวกันไว้ด้วยกัน และบริหารงานร่วมกัน มีฐานะรองลงมาจากสถานศึกษาหลัก โดยมีสาขาวิชา/ภาควิชา เป็นหน่วยงานย่อยลงมา
|-
|สำนักวิชา
|คณบดี
|สำนักวิชา หมายถึง คณะวิชาในสถาบันอุดมศึกษาในกำกับองรัฐ สถานศึกษาเหล่านั้นมักใช้ชื่อเรียกคณะ ว่า สำนักวิชา เช่น [[สำนักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี]], [[สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์]] เป็นต้น
|-
|วิทยาลัย
|ผู้อำนวยการ
|วิทยาลัยนี้ หมายถึง หน่วยงานที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ หากต่างจากคณะ คือการบริหารงานจะคล่องตัวมากกว่าและส่วนใหญ่จะรับนักศึกษาโดยตรงมักไม่ขึ้นกลับสถาบันหลัก เช่น [[วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา|วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชถัฏสวนสุนันทา]], [[วิทยาลัยเทคนิคดุสิต สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร]] เป็นต้น
|-
|สาขาวิชา
|ประธานสาขาวิชา
|สาขาวิชาที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ มีในสถานศึกษาเดียวในประเทศไทย คือ [[มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช]] นอกนั้นมีฐานะลงจากคณะทั้งสิ้น
|}


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:46, 16 พฤษภาคม 2560

อุดมศึกษา หมายถึง การศึกษาที่สูงขึ้นจากระดับมัธยมศึกษา คำว่า อุดมศึกษา มีรากศัพท์มาจากศัพท์ภาษาบาลี "อุตม" หมายถึง สูงสุด และศัพท์ภาษาสันสกฤต ศิกฺษา หมายถึง การเล่าเรียน ดังนั้น คำว่า "อุดมศึกษา" จึงหมายถึง การเรียนขั้นสูงสุด

การอุดมศึกษาในประเทศไทย

การจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาในประเทศไทยนั้น เริ่มขึ้นตั้งแต่รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งได้ก่อตั้งโรงเรียนกฎหมาย โรงเรียนแพทย์ โรงเรียนช่างไหม รวมถึงโรงเรียนมหาดเล็ก แต่ยังไม่สามารถให้การศึกษาถึงขั้นปริญญาได้ ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงประดิษฐานโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นมหาวิทยาลัย และพระราชทานนามว่า "จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย" ซึ่งเป็นสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ในปัจจุบัน การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาของประเทศไทยอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือ สกอ. กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งมีสถาบันอุดมศึกษาในสังกัด 157 แห่งทั่วประเทศ (พ.ศ. 2553)[1] โดยแบ่งเป็น

นอกจากนี้ ยังมีการจัดการศึกษาโดย มหาวิทยาลัย วิทยาลัย หรือ บัณฑิตวิทยาลัย ที่อาจจะไม่ได้อยู่ในสังกัดของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เช่น วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของ กระทรวงกลาโหม นอกจากนี้โรงเรียนสาธิตก็ยังสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาอีกด้วย

รูปแบบสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

รูปแบบสถาบันอุดมศึกษาของไทยนั้น มีหลากหลายชื่อเรียกขาน แต่หากเปรียบเทียบแล้วมีฐานะเดียวกันหากแตกต่างเฉพาะชื่อเรียกและตำแหน่งบริหารเท่านั้น อธิบายได้ดังนี้

เที่ยบเท่ามหาวิทยาลัย

หน่วยงาน ตำแหน่งหัวหน้าบริหาร ตำแหน่งหัวหน้าวิชาการ หมายเหตุ
มหาวิทยาลัย อธิการบดี นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ส่วนใหญ่เปิดส่วนในหลักสูตรระดับปริญญาตรี โท เอก
สถาบัน อธิการบดี/ผู้อำนวยการสถาบัน นายกสภาสถาบัน สถาบันมีฐานะเที่ยบกับมหาวิทยาลัย โดยมีศักดิ์ละสิทธิให้ปริญญาบัตรตามกฎหมายเช่นกัน สถานศึกษาที่ใช้ชื่อ "สถาบัน" เช่น สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, สถาบันการอาชีวศึกษา 23 แห่ง
วิทยาลัย อธิการบดี/ผู้อำนวยการวิทยาลัย นายกสภาวิทยาลัย วิทยลัย มีฐานะเที่ยบกับคำว่า สถาบัน, มหาวิทยาลัย โดยมีศักดิ์ละสิทธิให้ปริญญาบัตรตามกฎหมายเช่นกัน สถานศึกษาที่ใช้ชื่อ "วิทยาลัย" เช่น วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก, วิทยาลัยดุสิตธานี เป็นต้น โดยวิทยาลัยเหล่านี้มีความเป็นเอกเทศ (ระวังสับสนกับ วิทยาลัยที่มีฐานะเป็นหน่วยงานของสถาบันอุดมศึกษาหรือเรียกว่าเทียบเท่า คณะวิชาหนี่ง)

เทียบเท่าคณะ

หน่วยงาน ตำแหน่งหัวหน้าบริหาร หมายเหตุ
คณะ คณบดี คณะวิชา หมายถึง กลุ่มวิชาที่จัดไว้เป็นหมวดหมู่ในสถานศึกษา เพื่อการจัดการเรียนการสอนในลักษณะเดียวกันไว้ด้วยกัน และบริหารงานร่วมกัน มีฐานะรองลงมาจากสถานศึกษาหลัก โดยมีสาขาวิชา/ภาควิชา เป็นหน่วยงานย่อยลงมา
สำนักวิชา คณบดี สำนักวิชา หมายถึง คณะวิชาในสถาบันอุดมศึกษาในกำกับองรัฐ สถานศึกษาเหล่านั้นมักใช้ชื่อเรียกคณะ ว่า สำนักวิชา เช่น สำนักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เป็นต้น
วิทยาลัย ผู้อำนวยการ วิทยาลัยนี้ หมายถึง หน่วยงานที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ หากต่างจากคณะ คือการบริหารงานจะคล่องตัวมากกว่าและส่วนใหญ่จะรับนักศึกษาโดยตรงมักไม่ขึ้นกลับสถาบันหลัก เช่น วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชถัฏสวนสุนันทา, วิทยาลัยเทคนิคดุสิต สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร เป็นต้น
สาขาวิชา ประธานสาขาวิชา สาขาวิชาที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ มีในสถานศึกษาเดียวในประเทศไทย คือ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นอกนั้นมีฐานะลงจากคณะทั้งสิ้น

อ้างอิง

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น