การวิจัยทางการศึกษา
หน้าตา
การวิจัยทางการศึกษา (อังกฤษ: Educational research) เป็นการจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบในสาขาการศึกษา การวิจัยอาจมีการใช้วิธีการและแง่มุมที่หลากหลายด้านการศึกษา[1][2][3] เช่น การเรียนรู้ของผู้เรียน วิธีการสอน การฝึกหัดครูและพลวัตห้องเรียน[4]
ผู้วิจัยทางการศึกษาโดยทั่วไปแล้วเห็นด้วยว่าการวิจัยจะต้องเคร่งครัดและเป็นระบบ[2][4] อย่างไรก็ตามมีการเห็นร่วมน้อยในประเด็นมาตรฐาน เกณฑ์และกระบวนการวิจัยที่แน่นอน[1][5] ผู้วิจัยทางการศึกษาอาจใช้ศาสตร์หลายสาขาเข้ามาเกี่ยวข้องกับการวิจัย เช่น จิตวิทยา สังคมวิทยา มานุษยวิทยาและปรัชญา และเลือกใช้วิธีการวิจัยตามศาสตร์นั้น ๆ ได้[1][3][5] บทสรุปจากการศึกษาวิจัยของแต่ละบุคคลอาจมีข้อจำกัดในด้านคุณลักษณะของกลุ่มที่ศึกษาและเงื่อนไขที่การศึกษานั้นดำเนินการ[3]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 Lodico, Marguerite G.; Spaulding, Dean T.; Voegtle, Katherine H. (2010). Methods in Educational Research: From Theory to Practice. Wiley. ISBN 978-0-470-58869-7.
- ↑ 2.0 2.1 Anderson, Garry; Arsenault, Nancy (1998). Fundamentals of Educational Research. Routledge. ISBN 978-0-203-97822-1.
- ↑ 3.0 3.1 3.2 Yates, Lyn (2004). What Does Good Educational Research Look Like?: Situating a Field and Its Practices. Conducting Educational Research. McGraw-Hill International. ISBN 978-0-335-21199-9.
- ↑ 4.0 4.1 "IAR: Glossary. (n.d.)". Instructional Assessment Resources. University of Texas at Austin. 21 September 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 December 2012. สืบค้นเมื่อ 17 November 2010.
- ↑ 5.0 5.1 Kincheloe, Joe (2004). Rigour and Complexity in Educational Research. McGraw-Hill International. ISBN 978-0-335-22604-7.