ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พิษวิทยา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaSearch
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ky:Токсикология
บรรทัด 81: บรรทัด 81:
[[kn:ವಿಷವೈದ್ಯ ಶಾಸ್ತ್ರ]]
[[kn:ವಿಷವೈದ್ಯ ಶಾಸ್ತ್ರ]]
[[ko:독물학]]
[[ko:독물학]]
[[ky:Токсикология]]
[[lt:Toksikologija]]
[[lt:Toksikologija]]
[[mk:Токсикологија]]
[[mk:Токсикологија]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:14, 10 กันยายน 2555

พิษวิทยา (อังกฤษ: Toxicology มาจากคำว่า toxicos และ logos ในภาษากรีก) เป็นการศึกษาอาการ กลไกการรักษา และการตรวจสอบความเป็นพิษทางชีววิทยา โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเป็นพิษกับคน หัวข้อหลักของความเป็นพิษของสารเคมีคือปริมาณของการได้รับสาร (dose) มันจะเป็นการปลอดภัยอย่างยิ่งถ้าจะบอกว่าสารเคมีทั้งหมดเป็นพิษ ดังคำที่พาราเซลซัส (Paracelsus) บิดาแห่งวิชาพิษวิทยากล่าวว่า "ปริมาณเป็นตัวกำหนดพิษของสารเคมี" พาราเซลซัสมีชีวิตอยู่ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นคนแรกที่อธิบายความสัมพันธ์ของปริมาณและชนิดของสารเคมีที่เป็นพิษ สารเคมีหลายตัวเป็นพิษทางอ้อมเช่น เมทานอล (methanol) หรือ แอลกอฮอลไม้ ("wood alcohol") เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะเปลี่ยนเป็นสารพิษ ฟอร์มัลดีไฮด์ (formaldehyde) ที่ตับ ยาหลายตัวก็เป็นพิษที่ตับแบบเดียวกันนี้เช่น พาราเซตามอล (paracetamol)

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น